สารบัญ:
|
ปกหน้า บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพประกอบ บทที่ 1 บทนำ -ความเป็นมาของปัญหา -ความสำคัญของปัญหา -วัตถุประสงค์ของการศึกษา -ขอบเขตของการวิจัย -ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง -ส่วนที่ 1 หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับการปกครองท้องถิ่น --การกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่น -ภาพ 1 การกระจายอำนาจและผลลัพธ์ -ภาพ 2 เป้าหมายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี --เทศบาล -ภาพ 3 โครงสร้างการบริหารงานของเทศบาล -ภาพ 4 ประเภท เกณฑ์การจัดตั้ง รวมทั้งสมาชิกและผู้บริหารเทศบาล -ภาพ 5 กระบวนการงบประมาณของเทศบาล -ภาพ 6 วงจรการคลังเทศบาล -ภาพ 7 ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณของเทศบาล -ภาพ 8 ขั้นตอนในการเสนอร่างเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี/เพิ่มเติมของเทศบาล -ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล --แนวคิดเกี่ยวกับผลการปฏิบัติงานขององค์การ --การวัดผลการปฏิบัติงานขององค์การ -ภาพ 9 hybrid sustainability model -ภาพ 10 ความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยนำเข้า ผลผลิต ผลกระทบ -ภาพ 11 ระดับการวัดผลการปฏิบัติงาน (level of performance measurement) -ภาพ 12 กรอบความคิดการวัดผลการปฏิบัติงานขององค์การ -ภาพ 13 การควบคุมกำกับผลการปฏิบัติงานรวมขององค์การตามสายโซ่ผลการปฏิบัติงาน -ภาพ 14 การวัดผลการปฏิบัติงานโดยรวมขององค์การ (total organizational performance) --การวัดผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล -ภาพ 15 กรอบความคิดในการวัดผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล -ตาราง 1 ขอบเขต ตัวบ่งชี้ และแนวคิด/ทฤษฎีที่ใช้พิจารณาผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล -ส่วนที่ 3 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล -ภาพ 16 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลองค์การ (major influences on organizational effectiveness) -ภาพ 17 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลองค์การ (factors influencing organizational effectiveness) -ภาพ 18 กรอบการวิเคราะห์ทฤษฎีองค์การ --ลักษณะของเทศบาล (Organizational characteristics) --สภาพแวดล้อมของเทศบาล (environmental characteristics) --ลักษณะของนายกเทศมนตรี (mayor characteristics) --นโยบายการจัดการและการปฏิบัติ (managerial policies and practices) -ภาพ 19 กระบวนการติดต่อสื่อสาร (the communication process) -ส่วนที่ 4 โมเดลที่ใช้ในการวิจัย -ภาพ 20 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล -ภาพ 21 ขั้นตอนการวิเคราะห์โมเดลลิสเรล --กรอบแนวความคิดในการวิจัย -ภาพ 22 กรอบแนวความคิดในการวิจัย --สมมติฐานการวิจัย -ภาพ 23 แบบจำลองความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย -รูปแบบและวิธีการวิจัย -การระบุลักษณะของแบบจำลอง -ตาราง 2 สรุปกรอบแนวความคิดในการวิจัยผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล -ภาพ 24 แบบจำลองสมการโครงสร้างผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาลแบบเต็มรูป -ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง -ตาราง 3 จำนวนประชากรเป้าหมายและจำนวนตัวอย่าง -ตัวแปรที่ศึกษา -การสร้างมาตรวัดและนิยามเชิงปฏิบัติการ -เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย -การหาคุณภาพของเครื่องมือที่ใช้วิจัย -การเก็บรวบรวมข้อมูล -การวิเคราะห์ข้อมูล -การทดสอบความเชื่อถือได้ของแบบสอบถาม -สรุปความ บทที่ 4 ผลการศึกษา -ส่วนที่หนึ่ง ลักษณะทั่วไปของข้อมูล --ลักษณะของกลุ่มตัวอย่าง -ตาราง 4 จำนวนและร้อยละของนายกเทศมนตรีในประเทศไทยที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง (n=300) จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษาและประสบการณ์ในการทำงาน -ตาราง 5 ตารางไขว้แสดงจำนวนและร้อยละของเพศและระดับการศึกษาของนายกเทศมนตรี -ตาราง 6 ตารางไขว้แสดงจำนวนและร้อยละของอายุและระดับการศึกษาของนายกเทศมนตรี -ตาราง 7 ตารางไขว้แสดงจำนวนและร้อยละของอายุและประสบการณ์ในการทำงานของนายกเทศมนตรี -ตาราง 8 ตารางไขว้แสดงจำนวนและร้อยละของเพศและประสบการณ์ในการทำงานของนายกเทศมนตรี -ตาราง 9 จำนวนและร้อยละเทศบาลในประเทศไทยที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง (n=300) จำแนกตามขนาดและที่ตั้งของเทศบาล --ผลการวิเคราะห์สถิติพื้นฐานของตัวแปร -ตาราง 10 ตารางไขว้แสดงจำนวนและร้อยละของขนาดและที่ตั้งของเทศบาล -ตาราง 11 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าคะแนนต่ำสุดและค่าคะแนนสูงสุดของตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย --สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย -ตาราง 12 ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสังเกตภายใน -ตาราง 13 ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสังเกตภายนอกและตัวแปรสังเกตภายใน -ตาราง 14 ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสังเกตภายนอก --ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม -ตาราง 15 การวิเคราะห์การถดถอยพหุตัวแปรอิสระกับผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล -ตาราง 16 การวิเคราะห์การถดถอยพหุตัวแปรอิสระกับความสามารถในการกำหนดแผนพัฒนาเทศบาล -ตาราง 17 การวิเคราะห์การถดถอยพหุตัวแปรอิสระกับความสามารถในการปฏิบัติตามแผนพัฒนาเทศบาล -ตาราง 18 การวิเคราะห์การถดถอยพหุตัวแปรอิสระกับความสามารถในการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล -ตาราง 19 การวิเคราะห์การถดถอยพหุตัวแปรอิสระกับความมีประสิทธิภาพของเทศบาล -ตาราง 20 การวิเคราะห์การถดถอยพหุตัวแปรอิสระกับความมีประสิทธิผลของเทศบาล -ตาราง 21 การวิเคราะห์การถดถอยพหุตัวแปรอิสระกับคุณภาพการให้บริการของเทศบาล -ตาราง 22 การวิเคราะห์การถดถอยพหุตัวแปรอิสระกับการเรียนรู้และการพัฒนาเทศบาล -ส่วนที่สอง ผลการทดสอบสมมติฐาน --องค์ประกอบของผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล -ภาพ 25 แบบจำลองความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล (หลังปรับ) -ตาราง 23 ผลการประมาณค่าพารามิเตอร์ในโมเดลสมการโครงสร้าง (หลังปรับ) --ลักษณะของเทศบาลกับผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล -ตาราง 24 การวิเคราะห์การถดถอยพหุตัวแปรอิสระขนาดของเทศบาล โครงสร้างของเทศบาลและสภาพการใช้เทคโนโลยีของเทศบาลต่อตัวแปรตามผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล --สภาพแวดล้อมของเทศบาลกับผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล -ตาราง 25 การวิเคราะห์การถดถอยพหุตัวแปรอิสระวัฒนธรรมของเทศบาล ความขัดแย้งในผลประโยชน์ของเทศบาลและการมีส่วนร่วมของประชาชนในเขตเทศบาล ต่อตัวแปรตามผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล --ลักษณะของนายกเทศมนตรีกับผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล -ตาราง 26 การวิเคราะห์การถดถอยพหุตัวแปรอิสระระดับการศึกษาของนายกเทศมนตรี ภาวะผู้นำของนายกเทศมนตรีและความรู้ความเข้าใจเรื่องการปฏิบัติงานของนายกเทศมนตรี การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของเทศบาล ต่อตัวแปรตามผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล --นโยบายการจัดการและการปฏิบัติกับผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล -ตาราง 27 การวิเคราะห์การถดถอยพหุตัวแปรอิสระการวางแผนเชิงกลยุทธ์ของเทศบาล การติดต่อสื่อสารของเทศบาลและการจัดหาทรัพยากรของเทศบาล ต่อตัวแปรตามผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล --สรุปความ บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ -สรุป --สรุปผลที่ได้จากการวิจัยตามวัตถุประสงค์การวิจัย --สรุปความมุ่งหมายและวิธีการศึกษาวิจัย --สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน -การอภิปรายผลการวิจัย -ข้อเสนอแนะ --ข้อเสนอแนะจากการวิจัย --ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป ภาคผนวก -ภาคผนวก ก แบบสอบถามเพื่อการวิจัย -ภาคผนวก ข จดหมายขอความร่วมมือ -ภาคผนวก ค คำสั่งการวิเคราะห์แบบจำลองความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นของผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล -ภาคผนวก ง วิธีการปรับแบบจำลอง -ภาคผนวก จ รายชื่อเทศบาลที่สัมภาษณ์ -ภาคผนวก ฉ การทดสอบความเชื่อถือได้แบบสอบถาม -ภาคผนวก ช ตัวชี้วัดและข้อคำถาม -ภาคผนวก ซ การทดสอบความสัมพันธ์เชิงเส้นตรง -ภาคผนวก ฌ การวิเคราะห์ปัญหาภาวะร่วมเส้นตรงพหุ -ภาคผนวก ญ การทดสอบ Normal Distribution บรรณานุกรม -ภาษาไทย -ภาษาอังกฤษ ประวัติผู้วิจัย ปกหลัง
|