สารบัญ:
|
ปกหน้า กิตติกรรมประกาศ บทสรุปเชิงนโยบาย (Policy Brief) บทคัดย่อภาษาไทย บทคัดย่อภาษาอังกฤษ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย -1.3 ขอบเขตของการวิจัย -1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและกรอบแนวคิดทฤษฎี -2.1 การทบทวนวรรณกรรม --2.1.1 ความหมายของการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) --2.1.2 ประวัติพัฒนาการของการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) --2.1.3 วัตถุประสงค์ของการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) --2.1.4 ความสำคัญของการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) --2.1.5 ความจำเป็นของการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) --2.1.6 ขั้นตอนการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) --2.1.7 หลักเกณฑ์และวิธีการของการประเมินผลกระทบของกฎหมาย --2.1.8 พัฒนาการของการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) ในประเทศไทย --2.1.9 ปัญหาการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) ในประเทศไทย --2.1.10 การประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) กับการปฏิรูปกฎหมายในประเทศไทย --2.1.11 การประเมินคุณภาพของการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) --2.1.12 แนวคิดเรื่องมาตรา 77 ของนายมีชัย ฤชุพันธุ์ ศาสตราจารย์พิเศษ พรเพชร วิชิตชลชัย และศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.วิษณุ เครืองาม -2.2 กรอบความคิดการวิจัย (Conceptual Framework) -ภาพที่ 2.1 กรอบความคิดการวิจัย -2.3 กรอบแนวคิดทฤษฎี (Theoretical Framework) --2.3.1 แนวคิดทฤษฎีกาประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) --2.3.2 แนวคิดทฤษฎีการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการออกกฎหมาย -ภาพที่ 2.2 แสดงระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน --2.3.3 แนวคิดทฤษฎีการตรวจสอบคุณภาพของการประเมินผลกระทบของกฎหมาย --2.3.4 แนวคิดทฤษฎีการพัฒนากฎหมายและการปฏิรูปกฎหมาย -2.4 ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -2.5 สมมติฐานการวิจัย บทที่ 3 ระเบียบวิธีการวิจัย -3.1 การวิจัยเอกสาร (Documentary Research) -3.2 การสัมภาษณ์เจาะลึกและการสนทนากลุ่มย่อย -3.2.1 ประชากรเป้าหมายและกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ -3.2.2 การเก็บรวบรวมข้อมูล -3.2.3 การตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulation) -3.2.4 การวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล -ตารางที่ 3.1 ตารางแผนดำเนินการศึกษาวิจัย บทที่ 4 ผลการวิจัย -4.1 การพัฒนากลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) ในต่างประเทศ --4.1.1 ประวัติพัฒนาการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) ในต่างประเทศ --4.1.2 กลไกกการประเมินผลกระทบของกฎหมาย(RIA) ในต่างประเทศ ---1. แนวความคิดของการประเมินผลกระทบในการออกกฎหมายของ OECD ---2. การนำกลไกประเมินผลกระทบของกฎหมายของโออีซีดีไปใช้กับกลุ่มประเทศเอเปก ---3. การนำกลไกประเมินผลกระทบของกฎหมายของโออีซีดีไปใช้กับประเทศกำลังพัฒนา ---4. การนำกลไกประเมินผลกระทบของกฎหมายของโออีซีดีไปใช้กับกลุ่มประเทศแอฟริกา --4.13 กรณีศึกษาการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) ของต่างประเทศ ---1. กลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมายในประเทศสหรัฐอเมริกา ---2. กลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมายในประเทศอังกฤษ ---3. กลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมายในประเทศเยอรมนี ---4. กลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมายในประเทศโปแลนด์ ---5. กลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมายในประเทศออสเตรเลีย -ภาพที่ 4.1 กระบวนการประเมินผลกระทบก่อนการตรากฎหมายของรัฐนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย ---6. กลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมายในประเทศนิซีแลนด์ ---7. กลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมายในประเทศญี่ปุ่น ---8. กลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมายในประเทศมาเลเซีย -ภาพที่ 4.2 แสดงภาพรวมวิธีการดำเนินการก่อนการตรากฎหมายของประเทศมาเลเซีย -4.2 การพัฒนากลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) ในประเทศไทย --4.2.1 ประวัติพัฒนาการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) ในประเทศไทย --4.2.2 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลกระทบในการออกกฎหมายของประเทศไทย ---1. ก่อนรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 มีผลบังคับใช้ ---2. ตั้งแต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 จนถึงปัจจุบัน --4.2.3 รูปแบบกลไกและหลักเกณฑ์การประเมินผลกระทบในการออกกฎหมายของประเทศไทย ---1. รัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติ ---2. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการเสนอเรื่องและการประชุมคณะรัฐมนตรี พ.ศ. 2548 ---3. ระเบียบว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรี พ.ศ. 2548 ---4. หลักเกณฑ์ในการตรวจสอบความจำเป็นในการตราพระราชบัญญัติ ---5. คู่มือตรวจสอบความจำเป็นในการตรากฎหมาย --4.2.4 กระบวนการประเมินผลกระทบในการออกกฎหมายของประเทศไทย --4.2.5 แนวทางการประเมินผลกระทบในการออกกฎหมายของประเทศไทย -4.3 กลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมายตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 --4.3.1 การประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) เป็นแนวนโยบายแห่งรัฐในรัฐธรรมนูญ --4.3.2 หลักการในการประเมินผลกระทบของกฎหมายในรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ---1. หลักการในการประเมินผลกระทบของกฎหมายตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 77 ---2. หลักการในการปฏิรูปกฎหมายตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 258 ค. ---3. หลักการในยุทธศาสตร์ชาติเพื่อปฏิรูปกฎหมายตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 65 ---4. หลักการในการจัดแผนและขั้นตอนการปฏิรูปประเทศตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 259 --4.3.3 หลักเกณฑ์และวิธีการในการประเมินผลกระทบของกฎหมายตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ---1. หลักเกณฑ์การร่างกฎหมายและการตรวจพิจารณาร่างกฎหมายของหน่วยงานของรัฐ -ภาพที่ 4.3 แสดงหลักเกณฑ์การร่างกฎหมายและการตรวจพิจารณาร่างกฎหมายของหน่วยงานของรัฐ ---2. หลักเกณฑ์การรับฟังความคิดเห็นสาธารณะในการประเมินผลกระทบของกฎหมาย -ภาพที่ 4.4 แสดงการรับฟังความคิดเห็นในการจัดทำร่างกฎหมายและการวิเคราะห์ผลกระทบของกฎหมาย --4.3.4 หลักการนำการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) ไปใช้ในการปฏิรูปกฎหมาย -ภาพที่ 4.5 การนำกลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมายไปใช้ในกลุ่มประเทศสมาชิกขององค์การ OECD --4.3.5 กลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) ตามพระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทำร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 ---1. เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ในการสร้างกลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมาย ---2. เหตุผลความจำเป็นของพระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทำร่าง ---3. สาระสำคัญของพระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทำร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2560 ---4. หน้าที่หน่วยงานของรัฐต้องดำเนินการตามพระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทำร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2560 ---5. ประโยชน์ที่ประชาชจะได้รับการเข้ามามีส่วนร่วมตามพระราชบัญญัตินี้ --4.3.6 ข้อคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิต่อพระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทำร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 ---1. ข้อคิดเห็นของศาสตราจารย์พิเศษธานิศ เกศวพิทักษ์ ---2. ข้อคิดเห็นของรองศาสตราจารย์สุดา วิศรุตพิชญ์ ---3. ข้อคิดเห็นของนายอรรถสิทธิ์ กันมล และนายจุมพล ศรีจงศิริกุล -4.4 บทบาทของรัฐสภาในการพัฒนากลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมาย --4.4.1 ประวัติพัฒนาการของกลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมายในรัฐสภาต่างประเทศ --4.4.2 บทบาทของรัฐสภาต่างประเทศในการประเมินผลกระทบของกฎหมาย ---1. บทบาทของรัฐสภาต่างประเทศในการจัดทำประเมินผลกระทบของกฎหมาย ---2. บทบาทของรัฐสภาต่างประเทศในการตรวจสอบการประเมินผลกระทบของกฎหมาย ---3. กลไกการเฝ้าระวังการประเมินผลกระทบของกฎหมายในสหภาพยุโรป ---4. การประเมินความยั่งยืน (SIA) กับการประเมินผลกระทบของกฎหมายในต่างประเทศ ---5. แนวโน้มบทบาทสหภาพยุโรปในการพัฒนากลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมาย --4.4.3 บทบาทของรัฐสภาไทยในการพัฒนากลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมาย ---1. หลักการของพัฒนากลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมายในรัฐสภาไทย ---2. กลไกของรัฐสภาไทยในการเสนอร่างกฎหมายและการประเมินผลกระทบของกฎหมาย ---3. กลไกของรัฐสภาไทยในการตรวจสอบคุณภาพการประเมินผลกระทบของกฎหมาย ---4. การเปรียบเทียบบทบาทของรัฐบาลกับรัฐสภาในการประเมินผลกระทบของกฎหมาย ---5. วิเคราะห์บทเรียนในการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) ของประเทศไทย -ตารางที่ 4.1 ตารางเปรียบเทียบบทบาทหน้าที่ของรัฐสภากับรัฐสภาในการประเมินผลกระทบของกฎหมาย -4.5 ข้อคิดเห็นต่อบทบาทของรัฐสภาในการพัฒนากลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมาย --4.5.1 ข้อคิดเห็นของกลุ่มบุคคลฝ่ายนิติบัญญัติของรัฐสภา --4.5.2 ข้อคิดเห็นของกลุ่มบุคคลฝ่ายบริหารของรัฐบาล --4.5.3 ข้อคิดเห็นของกลุ่มบุคคลฝ่ายตุลาการของศาล --4.5.4 ข้อคิดเห็นของกลุ่มบุคคลภาคเอกชนและภาคประชาชน --4.5.5 ข้อคิดเห็นของกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิภาควิชาการ บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ -5.1 สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผล -5.2 สรุปผลรายงานการประชุมสัมมนาวิชาการเพื่อรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อผลวิจัย -5.3 ข้อเสนอแนะของการวิจัย --5.3.1 ข้อเสนอแนะจาการวิจัยครั้งนี้ --5.3.2 ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป บรรณานุกรม ภาคผนวก -ภาคผนวก ก พระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทำร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 -ภาคผนวก ข รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิและหน่วยงานที่เข้าร่วมการสัมภาษณ์เจาะลึกและการสนทนากลุ่มย่อย -ภาคผนวก ค แบบสัมภาษณ์เจาะลึก (In-depth Interview Form) -ภาคผนวก ง การประชุมสัมมนาวิชาการ เรื่อง บทบาทของรัฐสภาในการพัฒนากลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมายเพื่อปฏิรูปกฎหมายให้สอดคล้องกับหลักการตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 -ภาคผนวก จ รายงานการประชุมสัมมนาวิชาการ ประวัติผู้วิจัย ปกหลัง
|