สารบัญ:
|
ปกหน้า คำนำ สารบัญ บทบาทและอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภา -1. ทำหน้าที่รัฐสภาเพื่อให้ความเห็นชอบการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ตามมาตรา 19 -2. ทำหน้าที่รัฐสภา เพื่อให้ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ปฏิญาณตนก่อนเข้ารับหน้าที่ ตามมาตรา 21 -3. ทำหน้าที่รัฐสภาเพื่อรับทราบการแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ตามมาตรา 22 -4. ทำหน้าที่รัฐสภาเพื่อรับทราบหรือให้ความเห็นชอบการอัญเชิญองค์พระรัชทายาท หรือองค์ผู้สืบราชสันตติวงศ์ ขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์สืบไป ตามมาตรา 23 -5. เลือกกรรมการการเลือกตั้งจำนวนห้าคนตามมาตรา 138 (4) -6. ร่วมกับสภาผู้แทนราษฎรทำหน้าที่รัฐสภาเพื่อมีมติให้พิจารณาเรื่องอื่นในสมัยประชุมสามัญนิติบัญญัติ ตามมาตรา 159 วรรคสี่ -7. การเข้าชื่อร้องขอให้เรียกประชุมรัฐสภาเป็นการประชุมสมัยวิสามัญ ตามมาตรา 163 -8. การประชุมวุฒิสภาในระหว่างที่อายุของสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลงหรือสภาผู้แทนราษฎรถูกยุบตามมาตรา 168 -9. การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่คณะรัฐมนตรีระบุไว้ในนโยบายที่แถลงต่อรัฐสภา และสภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่ให้ความเห็นชอบ แต่คะแนนเสียงที่ไม่ให้ความเห็นชอบไม่ถึงกึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมดตามมตรา 173 -10. การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญของวุฒิสภาตามมาตรา 174 -11. การยับยั้งหรือแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญของวุุฒิสภา ตามมาตรา 175 -12. การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณของวุฒิสภาตามมาตรา 180 -13. การควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินตามมาตรา 182 -14. การตั้งกระทู้ถามรัฐมนตรี ตามมาตรา 183 -15. การเข้าชื่อขอเปิดอภิปรายทั่วไปในวุฒิสภาโดยไม่มีการลงมติ ตามมาตรา 187 -16. การตั้งคณะกรรมาธิการสามัญหรือวิสามัญของวุฒิสภา ตามมาตรา 189 -17. การประชุมร่วมกันของรัฐสภา ตามมาตรา 193 -18. การตั้งผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาจำนวนไม่เกินสามคน ตามมาตรา 196 -19. การตั้งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ จำนวน สิบเอ็ดคน ตามมาตรา 199 -20. การเปิดอภิปรายทั่วไป ในที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา โดยไม่มีการลงมติ ตามมาตรา 213 -21. การพิจารณาอนุมัติหรือไม่อนุมัติพระราชกำหนดตามมาตรา 218 -22. การพิจารณาอนุมัติหรือไม่อนุมัติพระราชกำหนด ตามมาตรา 220 -23. ทำหน้าที่รัฐสภาเพื่อให้ความเห็นชอบการประกาศสงคราม ตามมาตรา 223 -24. การให้ความเห็นชอบหนังสือสัญญาที่มีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขต ตามมาตรา 224 -25. การตั้งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ จำนวนสิบห้าคน ตามมาตรา 255 -26. การเข้าชื่อขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่รัฐสภาให้ความเห็นชอบแล้ว ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ ตามมาตรา 262 -27. เลือกผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวนสองคน ไปเป็นกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม ตามมาตรา 274 (3) -28. ให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเป็นตุลาการศาลปกครองสูงสุด จำนวนหนึ่งในสามตามมาตรา 277 -29. เลือกผู้ทรงคุณวุฒิจำนวนสองคน ไปเป็นกรรมการตุลาการศาลปกครอง ตามมาตรา 279 (3) -30. เลือกคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ จำนวนเก้าคน ตามมาตรา 297 -31. มีมติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ให้กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติพ้นจากตำแหน่ง ตามมาตรา 299 -32. การเข้าชื่อร้องขอให้ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองพิจารณาพิพากษา กรณีที่กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติผู้ใดร่ำรวยผิดปกติ ตามมาตรา 300 -33. อำนาจถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่งตามมาตรา 303 -34. การเข้าชื่อร้องขอให้วุฒิสภามีมติถอดถอบุคคลออกจากตำแหน่ง ตามมาตรา 304 -35. การพิจารณารายงานของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ตามมาตรา 305 -36. มีมติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในห้าให้ถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง ตามมาตรา 307 -37. ตั้งคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน จำนวนสิบคนและผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินหนึ่งคนตามมาตรา 312 -ปกหลัง
|