สารบัญ:
|
ปกหน้า รายนามคณะผู้วิจัย บทสรุปสำหรับผู้บริหาร บทคัดย่อ Abstract "Corruption in the paddy pledging policy" สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญรูป บทที่ 1 บทนำ[นิพนธ์ พัวพงศกร][จิรัฐ เจนพึ่งพร] -1.1 เบื้องหลังการวิจัย -1.2 วัตถุประสงค์และแนวคิดในการศึกษา -1.3 แนวคิดในการศึกษาและวิธีการวิจัย -1.4 การรวบรวมข้อมูล และการสำรวจ -ตารางที่ 1.1 สัมมนากับผู้เกี่ยวข้อง -ตารางที่ 1.2 การคำนวณจำนวนตัวอย่างชาวนาในโครงการรับจำนำข้าว -ตารางที่ 1.3 จำนวนตัวอย่างชาวนานอกโครงการรับจำนำข้าว -ตารางที่ 1.4 การสุ่มเลือกจังหวัดสำหรับการสำรวจชาวนาทั้งที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการรับจำนำข้าว -ตารางที่ 1.5 ภาพรวมจำนวนตัวอย่างจำแนกตามจังหวัด -1.5 ผลการสำรวจด้วยแบบสอบถามและจำนวนตัวอย่าง -ตารางที่ 1.6 จำนวนแบบสอบถามเกษตรกรที่เก็บได้จริง -1.6 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -ตารางที่ 1.7 จำนวนแบบสอบถามโรงสี โกดัง และเซอร์เวยเยอร์ที่เก็บได้จริง -ตารางที่ 1.8 สรุปรูปแบบการทุจริต -1.7 ลำดับความของรายงาน -ตารางที่ 1.9 วิธีการแสวงหาค่าเช่าทางเศรษฐกิจ บทที่ 2 การทุจริตในโครงการรับจำนำข้าว และหลักฐานบางประการ[นิพนธ์ พัวพงศกร][กัมพล ปั้นตะกั่ว] -2.1 สาระสำคัญของโครงการรับจำนำข้าว -รูปที่ 2.1 ปริมาณและมูลค่าข้าวในโครงการจำนำ (พฤษภาคม 2557) -ตารางที่ 2.1 แสดงผลการจดทะเบียนเกษตรกรของกรมส่งเสริมการเกษตร เทียบกับจำนวนเกษตรกรที่นำข้าวมาขายให้โครงการรับจำนำตามใบประทวนที่ ธ.ก.ส. ได้รับ -ตารางที่ 2.2 ปริมาณการระบายข้าวของรัฐบาลในช่องทางต่าง ๆ เฉพาะที่ผู้วิจัยมีเอกสาร -2.2 การทุจริตสามระดับ : ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ -ตารางที่ 2.3 การทุจริตในแต่ละขั้นตอนของโครงการรับจำนำข้าว -รูปที่ 2.2 กระบวนการลักลอบขายข้าวเปลือกให้ผู้ส่งออกข้าวนึ่ง แล้วนายหน้าใช้อิทธิพลซื้อข้าวเก่าของรัฐหรือข้าวในราคาถูกมาคืนโกดังกลาง -รูปที่ 2.3 กระบวนการลักลอบนำข้าวสารใหม่จากโรงสีในโครงการรับจำนำไปขายและใช้อิทธิพลหาข้าวราคาถูกมาคืนโกดังกลาง -รูปที่ 2.4 การทุจริตในการขายข้าวแบบรัฐต่อรัฐ : การขอซื้อข้าวในโครงการจำนำจากโกดังกลางผ่านนายหน้า -2.3 ปัญหาข้าวหาย : หลักฐานและปฏิกิริยาตอบสนองของเจ้าหน้าที่รัฐ -ตารางที่ 2.4 ข้าวหาย กับการขอปรับเพิ่มจำนวนข้าวคงคลัง ณ วันที่ 31 มกราคม 2556 -รูปที่ 2.5 ปริมาณการส่งออกข้าวนึ่ง -รูปที่ 2.6 ขายข้าวเก่า และมติ กขช. ที่เอื้อประโยชน์แก่พ่อค้าที่ซื้อข้าวเก่าจากรัฐบาล -รูปที่ 2.7 ปัญหาการส่งมอบข้าวเข้าโกดังกลางเกิดขึ้นครั้งแรกในโครงการรับจำนำรอบ 2/2555 (นาปรัง) -รูปที่ 2.8 ปัญหาข้าวหาย 3 ล้านตัน และการปรับเพิ่มปริมาณข้าวคงเหลือจนทำให้สต็อกข้าวมีมากกว่าปริมาณรับจำนำ -2.4 หลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการทุจริตขายข้าวแบบรัฐต่อรัฐ -ตารางที่ 2.5 ปริมาณการส่งออกข้าวของเอกชนและรัฐไปยัง 6 ประเทศ ที่มีสัญญา MOUs กับไทย -รูปที่ 2.9 ข้าวเปลือกแพง ข้าวสารถูก -ตารางที่ 2.6 การคำนวณปริมาณข้าวคงคลังขั้นสูงและปริมาณการระบายข้าวขั้นต่ำจากโครงการรับจำนำข้าว ตุลาคม 2554 - กันยายน 2556 -ตารางที่ 2.7 ปริมาณข้าวคงคลัง และปริมาณระบายข้าวจากการคำนวณเปรียบเทียบกับปริมาณที่รัฐมนตรีเปิดเผยต่อสาธารณะ และรายงานของ อคส. อ.ต.ก. 30 กันยายน 2556 (ล้านตัน) -2.5 การใช้มาตรการช่วยเหลือค่าครองชีพเป็นเครื่องมือทุจริตในการระบายข้าว -2.6 สรุป บทที่ 3 ทัศนคติของชาวนาเรื่องทุจริต และประโยชน์ของโครงการจำนำข้าว[ชมพูนุช นันทจิต][ศุณิษา สอาดเอี่ยม] -3.1 ข้อมูลและลักษณะของเกษตรกรที่สำรวจ -ตารางที่ 3.1 จำนวนตัวอย่างเกษตรกรที่ทำการสำรวจ -3.2 ประโยชน์ที่เกษตรกรได้รับจากโครงการจำนำข้าว -ตารางที่ 3.2 ผลการวิเคราะห์สาเหตุที่เกษตรกรไม่เข้าร่วมโครงการจำนำข้าว -รูปที่ 3.1 จำนวนเกษตรกร และมูลค่าข้าวของเกษตรกร นาปี 2554/55 -รูปที่ 3.2 จำนวนเกษตรกร และมูลค่าข้าวของเกษตรกร นาปรัง 2554 -รูปที่ 3.3 จำนวนเกษตรกรและมูลค่าข้าวในโครงการจำนำข้าว นาปี 2554/55 -รูปที่ 3.4 จำนวนเกษตรกรและมูลค่าข้าวในโครงการจำนำข้าว นาปรัง 2555 -รูปที่ 3.5 จำนวนเกษตรกรและมูลค่าข้าวในโครงการจำนำข้าว นาปี 2555/56 -รูปที่ 3.6 จำนวนเกษตรกรและมูลค่าข้าวในโครงการจำนำข้าว นาปรัง 2556 -รูปที่ 3.7 จำนวนเกษตรกรและมูลค่าข้าวในโครงการจำนำข้าว นาปี 2556/57 -รูปที่ 3.8 จำนวนเกษตรกรและมูลค่าข้าวในโครงการจำนำข้าว นาปี 2555/56 จากการสำรวจ -รูปที่ 3.9 จำนวนเกษตรกรและมูลค่าข้าว ภาคอีสานและกลาง นาปี 2555/56 -รูปที่ 3.10 จำนวนเกษตรกรและมูลค่าข้าว ภาคอีสานและกลาง นาปรัง 2556 -ตารางที่ 3.3 ระยะเวลาและฤดูที่รอใบประทวน -ตารางที่ 3.4 ระยะเวลาที่เกษตรกรในโครงการรอเงินจาก ธ.ก.ส. -ตารางที่ 3.5 รอบการผลิตที่เกษตรกรได้เงินช้ากว่าปกติ -ตารางที่ 3.6 วิธีการแก้ปัญหาการได้รับเงินล่าช้าของเกษตรกร -ตารางที่ 3.7 การใช้จ่ายเงินเพื่อซื้อสินค้าอุปโภคและบริโภคทั่วไปของเกษตรกร -ตารางที่ 3.8 การใช้จ่ายเงินจากโครงการจำนำข้าวเพื่อการลงทุนด้านต่าง ๆ -ตารางที่ 3.9 ปัญหาการผ่อนชำระและการออมเงินของเกษตรกรในโครงการ -ตารางที่ 3.10 ความพอใจในโครงการจำนำข้าวก่อนและหลังปัญหาจ่ายเงินล่าช้าของรัฐบาล ของเกษตรกรในและนอกโครงการจำนำข้าว -ตารางที่ 3.11 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อความพอใจในโครงการจำนำข้าวก่อนเกิดปัญหา -ตารางที่ 3.12 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อความพอใจในโครงการจำนำข้าวหลังเกิดปัญหา -3.3 ค่าเช่าทางเศรษฐกิจและการแสวงหาค่าเช่าทางเศรษฐกิจของเกษตรกร -รูปที่ 3.11 การแสวงหาค่าเช่าทางเศรษฐกิจของเกษตรกรในโครงการจำนำข้าว -ตารางที่ 3.13 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการพยายามแสวงหาค่าเช่าทางเศรษฐกิจ -ตารางที่ 3.14 ผลกระทบต่อค่าเช่าและค่าจ้างในการทำนา -3.4 การรับรู้และความคิดเห็นของเกษตรกรเรื่องการทุจริตในโครงการจำนำข้าว -ตารางที่ 3.15 การรับรู้ทุจริตในโครงการจำนำข้าวของเกษตรกร -ตารางที่ 3.16 การรับรู้ทุจริตในโครงการจำนำข้าวของกลุ่มชาวนาผู้ชุมนุมเรียกร้องค่าจำนำข้าว -ตารางที่ 3.17 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้ทุจริตของเกษตรกรในโครงการจำนำ -ตารางที่ 3.18 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้ทุจริตของเกษตรกรนอกโครงการจำนำ -ตารางที่ 3.19 ความเห็นเรื่องระดับการทุจริตในโครงการจำนำข้าวของเกษตรกร -3.5 ความคิดเห็นของเกษตรกรต่อโครงการประกันรายได้ -ตารางที่ 3.20 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อระดับทุจริตของเกษตรกรในโครงการจำนำ -ตารางที่ 3.21 ความคิดเห็นของเกษตรกรต่อโครงการประกันรายได้ -ตารางที่ 3.22 เกษตรกรเลือกโครงการจำนำข้าวหรือประกันรายได้ เมื่อกำหนดให้ราคาประกันที่ 15,000 บาทเท่ากัน -ตารางที่ 3.23 เหตุผลที่เลือกโครงการจำนำข้าว -ตารางที่ 3.24 เหตุผลที่เลือกโครงการประกันรายได้ -3.6 สรุป บทที่ 4 ผลการสำรวจโรงสีและโกดัง[ดนพ อรุณคง] -4.1 บทนำ -ตารางที่ 4.1 จำนวนผู้ให้ความร่วมมือตอบแบบสอบถาม -4.2 ภาพรวมโรงสี โกดัง และเซอร์เวยเยอร์ -ตารางที่ 4.2 ดัชนีความหนาแน่นของโรงสี -ตารางที่ 4.3 ลักษณะของโรงสีในโครงการและโรงสีนอกโครงการ -รูปที่ 4.1 ความหนาแน่นของโรงสีเมื่อเทียบกับปริมาณผลผลิต -ตารางที่ 4.4 จำนวนโรงสีในระยะ 20 กิโลเมตร -ตารางที่ 4.5 ระดับการแข่งขันในมุมมองของโรงสี -ตารางที่ 4.6 วิธีการแข่งขันของโรงสี -ตารางที่ 4.7 สาเหตุที่โรงสีไม่เข้าร่วมโครงการจำนำข้าว -ตารางที่ 4.8 การปรับตัวของโรงสีนอกโครงการ -ตารางที่ 4.9 ธุรกิจขายข้าวถุงของโรงสี -ตารางที่ 4.10 ลักษณะทั่วไปของโกดัง -ตารางที่ 4.11 ปริมาณข้าวเปลือกเฉลี่ยในโครงการที่โรงสีได้รับ (ตันต่อเดือนต่อโรงสี) -ตารางที่ 4.12 ปริมาณการสี -ตารางที่ 4.13 ระยะเวลาคืนทุนในกรณีที่สร้างโกดังใหม่ -ตารางที่ 4.14 คะแนนความพึงพอใจต่อโครงการจำนำข้าว -รูปที่ 4.2 ประเภทและจำนวนผู้ประสบปัญหาจากโครงการจำนำข้าว -4.3 การแสวงหาค่าเช่าทางเศรษฐกิจ หรือกำไรพิเศษ Rent-seeking -4.4 ทุจริต -รูปที่ 4.3 จำนวนผู้แสวงหาค่าเช่าทางเศรษฐกิจ -ตารางที่ 4.15 การรับรู้กระบวนการทุจริต -ตารางที่ 4.16 ระยะเวลาที่ใช้ในการส่งข้าวเข้าโกดัง -4.5 การเปรียบเทียบโครงการ -ตารางที่ 4.17 คะแนนระดับการทุจริตของโครงการจำนำข้าวโดยโรงสี และโกดัง -รูปที่ 4.4 (ก) ข้อดีโครงการจำนำข้าว -รูปที่ 4.4 (ข) ข้อเสียโครงการจำนำข้าว -รูปที่ 4.5 (ก) ข้อดีโครงการประกันรายได้ -รูปที่ 4.5 (ข) ข้อเสียโครงการประกันรายได้ -ตารางที่ 4.18 เปรียบเทียบระดับทุจริตของโครงการจำนำข้าว และโครงการประกันรายได้ -4.6 สรุปผลการสำรวจโรงสี และโกดัง บทที่ 5 ต้นทุนการคลัง ต้นทุนสวัสดิการของโครงการรับจำนำข้าว และการทุจริตในการระบายข้าว[อัมมาร สยามวาลา] -5.1 แนวคิดการสร้างแบบจำลองวัดต้นทุนสวัสดิการที่เกิดจากการแทรกแซงตลาด -รูปที่ 5.1 (ก) ราคาข้าวเปลือกแพง-ข้าวสารถูก -รูปที่ 5.1 (ข) ราคาส่งออก/ราคาขายส่งข้าว 3 ชนิด -รูปที่ 5.1 (ค) ราคาขายปลีก/ราคาขายส่งข้าวขาว 5% -5.2 แบบจำลองตลาดข้าวไทย 2 ยุค -รูปที่ 5.2 ราคาข้าวขาว 5% ส่งออกไทยเวียดนาม อินเดีย -รูปที่ 5.3 ยุคแรกตลาดข้าวไทยมี 2 ราคา -ตารางที่ 5.1 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกข้าวของไทยระหว่างปี 2550-2557 -รูปที่ 5.4 รัฐบาลเร่งระบายข้าวเพื่อหาเงินชำระหนี้ ทำให้ราคาในประเทศและราคาส่งออกลดลง -5.3 ต้นทุนสวัสดิการและผลประโยชน์จากโครงการจำนำข้าว -ตารางที่ 5.2 การคำนวณต้นทุนสวัสดิการสุทธิในโครงการรับจำนำข้าว ตุลาคม 2554 - เมษายน 2557 -5.4 การประมาณการมูลค่าความเสียหายจากการทุจริตในการระบายข้าว -ตารางที่ 5.3 การแจกแจงการทุจริตในการระบายข้าวจากโครงการรับจำนำข้าว 5 รอบ (ตุลาคม 2554 - เมษายน 2557) -5.5 สรุป -ตารางที่ 5.4 ผลการคำนวณเบื้องต้น : การคำนวณต้นทุนสวัสดิการสุทธิในโครงการรับจำนำข้าว ตุลาคม 2554 - เมษายน 2557 กรณีสต๊อกข้าวเหลือ 17.809 ล้านตัน ข้าวในสต๊อกเสื่อมคุณภาพ ตีราคา 7,500 บาทต่อตัน -ตารางที่ 5.5 ผลการคำนวณเบื้องต้น : การแจกแจงการทุจริตในการระบายข้าวจากโครงการรับจำนำข้าว 5 รอบ (ตุลาคม 2554 - เมษายน 2557) กรณีสต๊อกข้าวเหลือ 17.809 ล้านตัน ข้าวในสต๊อกเสื่อมคุณภาพร้อยละ 40 มาจากการสับเปลี่ยนข้าว บทที่ 6 สรุปและข้อเสนอแนะ[นิพนธ์ พัวพงศกร][อัมมาร สยามวาลา] -6.1 ความผิดพลาดของนโยบายการรับจำนำข้าว : นโยบายล้มเหลว หรือ บริหารจัดการบกพร่อง -รูปที่ 6.1 ราคาข้าวขาว 5% และผลผลิตข้าวสารรายปีของประเทศเวียดนาม ตั้งแต่ปี 2550-2556 -6.2 สรุปผลการศึกษา -6.3 ข้อเสนอแนะ -ตารางที่ 6.1 ความคิดเห็นของเกษตรกรในการดำเนินนโยบายจำนำข้าว -รูปที่ 6.2 ความคิดเห็นเรื่องนโยบายของเกษตรกรในโครงการจำนำ -รูปที่ 6.3 ความคิดเห็นเรื่องนโยบายของเกษตรกรนอกโครงการจำนำ -ตารางที่ 6.2 งบประมาณสำหรับโครงการประกันรายได้สำหรับเกษตรกร บรรณานุกรม ภาคผนวก
|