สารบัญ:
|
ปกหน้า บทคัดย่อภาษาไทย บทคัดย่อภาษาอังกฤษ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย -1.3 ขอบเขตของการวิจัย -1.4 คำจำกัดความที่ใช้ในการวิจัย -1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ -1.6 ลำดับขั้นตอนในการเสนอผลการวิจัย บทที่ 2 แนวคิดที่ใช้ในการศึกษาและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -2.1 แนวคิดทุนทางสังคมในต่างประเทศ --2.1.1 ความเป็นมา เป็นไป และนัยสำคัญของแนวคิดทุนทางสังคมในต่างประเทศ ---2.1.2 การให้ความหมายแนวคิดทุนทางสังคมในมุมมองนักคิดและองค์กรที่สำคัญ: ฐานคิด การวิเคราะห์ และการนำไปประยุกต์ใช้ ---2.1.3 ประเด็นวิพากษ์วิจารณ์ต่อแนวคิดทุนทางสังคม --2.2 การใช้แนวคิดทุนทางสังคมในประเทศไทย: ความเป็นมาและการให้ความหมายของแนวคิดทุนทางสังคมในสังคมไทย --2.3 ทุนทางสังคมกับความสัมพันธ์เชิงอำนาจ: ระบบอุปถัมภ์ ---2.3.1 องค์ประกอบของระบบอุปถัมภ์ -แผนภาพที่ 1 กลไกการแลกเปลี่ยนตอบแทนซึ่งกันและกันระหว่างผู้อุปถัมภ์และผู้รับอุปถัมภ์ ---2.3.2 ตัวแบบโครงสร้างความสัมพันธ์ในระบบอุปถัมภ์ ---2.3.3 การศึกษาระบบอุปถัมภ์ในโครงสร้างสังคมไทย -แผนภาพที่ 2 กลุ่มความสัมพันธ์แบบกลุ่มบริวาร และแวดวง ---2.3.4 ความเชื่อมโยงของแนวคิดทุนทางสังคมกับความสัมพันธ์เชิงอำนาจ: ระบบอุปถัมภ์ --2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดทุนทางสังคม --2.5 กรอบแนวคิด -แผนภาพที่ 3 กรอบแนวคิดเบื้องต้น บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย -3.1 รูปแบบการวิจัย -3.2 แหล่งข้อมูล -3.3 ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ -3.4 วิธีการเก็บข้อมูลและเครื่องมือ -3.5 การวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 4 ความสัมพันธ์ทางสังคมของตำบลแห่งหนึ่งในจังหวัดนนทบุรี -4.1 บริบทเชิงพื้นที่ -ตารางที่ 1 ลักษณะที่ตั้งของชุมชนดั้งเดิมกับชุมชนจัดสรร -ตารางที่ 2 แสดงลักษณะประชากรที่ผสมผสานกันระหว่างชุมชนดั้งเดิมกับชุมชนจัดสรร -แผนภาพที่ 4 แสดงสถานที่สำคัญ และการกระจายตัวของชุมชนดั้งเดิมและชุมชนจัดสรรของพื้นที่กรณีศึกษา -ตารางที่ 3 รายได้เฉลี่ยของประชากรจำแนกรายหมู่บ้านต่อคนต่อปี (บาท) -4.2 ลักษณะของความสัมพันธ์ทางสังคมของชาวบ้าน --4.2.1 ลักษณะของความสัมพันธ์ทางสังคมภายใน --4.2.2 ลักษณะของความสัมพันธ์ทางสังคมที่ได้รับอิทธิพลหรือการสนับสนุนมาจากภายนอก -4.3 ความสัมพันธ์เชิงอำนาจ: การเมืองในระดับท้องถิ่น -ตารางที่ 4 แสดงนักการเมืองท้องถิ่นในตำบลแห่งนี้รายหมู่บ้าน -ตารางที่ 5 แสดงการแบ่งกลุ่มนักการเมืองท้องถิ่นในตำบลแห่งนี้ -4.4 สรุป: การก่อเกิด/สั่งสมทุนทางสังคม และความเชื่อมโยงกับความสัมพันธ์เชิงอำนาจ --4.4.1 การก่อเกิด/สั่งสมทุนทางสังคม --4.4.2 ความเชื่อมโยงระหว่างทุนทางสังคมกับความสัมพันธ์เชิงอำนาจ บทที่ 5 ปฏิบัติการของทุนทางสังคมในภาวะอุทกภัย -5.1 ปฏิบัติการของทุนทางสังคมในการจัดการภาครัฐในระดับท้องถิ่น -แผนภาพที่ 5 โครงสร้างศูนย์ปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยในอำเภอแห่งหนึ่งของจังหวัดนนทบุรี -แผนภาพที่ 6 กลไกในการให้ความช่วยเหลือในพื้นที่กรณีศึกษา -ตารางที่ 6 ตัวอย่างบัญชีการแจกอาหารกล่องและน้ำดื่มในพื้นที่กรณีศึกษาของศูนย์ปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยประจำอำเภอแห่งหนึ่งในจังหวัดนนทบุรี (วันที่ 28 ตุลาคม 2554) -ตารางที่ 7 แสดงจำนวนถุงยังชีพต่อจำนวนครัวเรือนในพื้นที่กรณีศึกษาของศูนย์ปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยประจำอำเภอแห่งหนึ่ง ในจังหวัดนนทบุรี -ตารางที่ 8 จำนวนศูนย์พักพิงและจำนวนผู้พักพิงทีรับได้ต่อจำนวนประชากรในแยกเป็นรายหมู่บ้านในพื้นที่กรณีศึกษา (วันที่ 28 ตุลาคม 2554) -ตารางที่ 9 ตัวอย่างรายชื่อผู้บริจาคเครื่องอุปโภค บริโภค และอื่น ๆ ให้กับศูนย์ปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยประจำอำเภอแห่งหนึ่ง ในจังหวัดนนทบุรี ในช่วงต้นของการเหตุการณ์ (ระหว่างปลายเดือนตุลาคมต้นเดือนพฤศจิกายน) -5.2 ปฏิบัติการของทุนทางสังคมในการจัดการตนเองของผู้ประสบภัย -5.3 สรุป: ผลของการใช้ทุนทางสังคมในภาวะอุทกภัย --5.3.1 ผลบวก-ผลลบของปฏิบัติการของทุนทางสังคมในภาวะอุทกภัย --5.3.2 ความเชื่อมโยงของทุนทางสังคมกับความสัมพันธ์เชิงอำนาจในชุมชน บทที่ 6 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ -6.1 สรุปผลการศึกษาวิจัย --6.1.1 ลักษณะของทุนทางสังคมและการนำมาใช้ในระดับชุมชน/ระดับท้องถิ่น -ตารางที่ 10 แสดงลักษณุการยึดโยงของชาวบ้านในชุมชนดั้งเดิมและชุมชนจัดสรร --6.1.2 ข้อจำกัด: ผลกระทบในด้านลบและความเชื่อมโยงกับความสัมพันธ์เชิงอำนาจ -แผนภาพที่ 7 แสดงลักษณะเครือข่ายความสัมพันธ์ของผู้นำกับฐานเสียง -แผนภาพที่ 8 แสดงกลไกการสร้างหรือรักษาเครือข่ายความสัมพันธ์ของผู้นำ -6.2 อภิปรายผลการศึกษาวิจัย -แผนภาพที่ 9 แสดงรูปแบบที่แตกต่างกันของทุนทางสังคม -6.3 ข้อเสนอแนะ รายการอ้างอิง ประวัติผู้เขียนวิทยานิพนธ์ ปกหลัง
|