สารบัญ:
|
ปกหน้า คำนำ สารบัญ บทที่ 1 บททั่วไป -1. การดำเนินการสอบสวน -2. คำสั่งสำนวนการสอบสวนของพนักงานอัยการ -3. การสอบสวน -4. การสืบสวน -5. ข้อแตกต่างการสืบสวนและการสอบสวน บทที่ 2 ผู้เสียหาย -1. ผู้เสียหาย -2. ผู้เสียหายในความผิดฐานฉ้อโกง -3. ผู้เสียหายในความผิดฐานแจ้งความเท็จ -4. ผู้เสียหายในความผิดฐานเบิกความเท็จและแสดงพยานหลักฐานอันเป็นเท็จ -5. ผู้เสียหายในความผิดฐานลักทรัพย์ ทำให้เสียทรัพย์และบุกรุก -6. ผู้เสียหายในความผิดฐานยักยอก -7. ผู้เสียหายในความผิดเกี่ยวกับเอกสาร -8. ผู้เสียหายในความผิดฐานเจ้าพนักงานปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ -9. ผู้เสียหายในความผิดตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2534 -10. ความผิดที่รัฐเท่านั้นเป็นผู้เสียหาย -11. ผู้เสียหายโดยนิตินัย --11.1 บุคคลที่มีส่วนในการกระทำผิดด้วย ไม่ว่าจะเป็นตัวการ ผู้ใช้ ผู้สนับสนุนหรือมีส่วนประมาท --11.2 บุคคลที่สมัครใจเข้าร่วมวิวาทต่อสู้ทำร้ายซึ่งกันและกัน --11.3 บุคคลที่สมัครใจยินยอมให้ผู้อื่นกระทำผิด --11.4 ผู้ที่กระทำการโดยมีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย เป็นการพ้นวิสัยหรือเป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน บทที่ 3 ผู้มีอำนาจจัดการแทนผู้เสียหาย -1. อำนาจจัดการแทนหญิงมีสามี -2. ผู้มีอำนาจจัดการแทนผู้เสียหายโดยตรง --2.1 บุคคลผู้มีอำนาจจัดการแทนผู้เยาว์และผู้ไร้ความสามารถ --2.2 บุคคลผู้มีอำนาจจัดการแทนผู้เสียหายซึ่งถูกทำร้ายถึงตายหรือบาดเจ็บจนไม่สามารถจะจัดการเองได้ --2.3 บุคคลผู้มีอำนาจจัดการแทนนิติบุคคล -3. ผู้แทนเฉพาะคดี บทที่ 4 คำร้องทุกข์ -1. คำร้องทุกข์ -2. หลักเกณฑ์ของคำร้องทุกข์ -3. ผู้มีอำนาจรับคำร้องทุกข์คือ -4. วิธีการร้องทุกข์ -5. ข้อความของการร้องทุกข์ -6. การร้องทุกข์ด้วยปาก -7. การร้องทุกข์ด้วยหนังสือ ต้องมีรายละเอียดเพิ่มเติม -8. คำร้องทุกข์ตามระเบียบ -9. การแก้คำร้องทุกข์ -10. การถอนคำร้องทุกข์ -11. ผลของการถอนคำร้องทุกข์ -12. การมอบอำนาจให้ร้องทุกข์ -13. กรณีไม่ถือว่าเป็นคำร้องทุกข์ -14. "คำกล่าวโทษ" -15. ข้อแตกต่างระหว่างคำร้องทุกข์และคำกล่าวโทษ -16. "ความผิดอาญาแผ่นดิน" -17. ความผิดต่อส่วนตัว -18. การยอมความในคดีอาญา บทที่ 5 หลักการบันทึก -1. การบันทึก -2. การใช้ล่ามแปล -3. การมอบอำนาจ -4. การดำเนินคดีอาญานิติบุคคล บทที่ 6 พนักงานสอบสวน -1. พนักงานสอบสวน -2. เขตอำนาจการสอบสวน --2.1 พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบในกรณีเกิดเหตุความผิดตามปกติ --2.2 พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบในกรณีความผิดที่เกี่ยวพันพันหลายท้องที่ --2.3 พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบในกรณีความผิดเกิดนอกราชอาณาจักร --2.4 พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบในกรณีไม่แน่ว่าผู้ใดเป็นผู้รับผิดชอบ บทที่ 7 อำนาจของพนักงานสอบสวน -1. รวบรวมพยานหลักฐานทุกชนิดเท่าที่สามารถจะทำได้ -2. มีอำนาจตรวจ -3. มีอำนาจค้น -4. มีอำนาจออกหมายเรียกบุคคล -5. มีอำนาจยึด -6. อำนาจสอบสวนผู้เสียหายหรือพยาน -7. อำนาจสอบผู้ต้องหา -8. อำนาจตรวจพิสูจน์บุคคล วัตถุ หรือเอกสารทางวิทยาศาสตร์ -9. อำนาจอื่น ๆ ของพนักงานสอบสวน บทที่ 8 การสอบสวนผู้เสียหาย พยานและผู้ต้องหา -1. การสอบสวนที่ชอบด้วยกฎหมายซึ่งทำให้พนักงานอัยการมีอำนาจฟ้อง -2. ประเด็นการสอบสวนปากคำผู้เสียหายหรือพยาน -3. การสอบสวนผู้เสียหายหรือพยานที่มีอายุไม่เกิน 18 ปี -4. การสอบสวนผู้ต้องหา --4.1 สิทธิของผู้ต้องหาตามกฎหมาย --4.2 ประเด็นการสอบสวนผู้ต้องหา --4.3 การสอบสวนผู้ต้องหาอายุไม่เกิน 18 ปี --4.4 การปฏิบัติของพนักงานสอบสวนในการสอบสวนผู้ต้องหาอายุไม่เกิน 18 ปี -5. ข้อแตกต่างของข้อกล่าวหา ข้อหาและฐานความผิด บทที่ 9 การจับ การรับมอบตัว และการแจ้งข้อหา -1. การจับโดยเจ้าพนักงาน -2. การจับโดยราษฎร -3. การรับมอบตัวผู้ถูกจับ -4. คำรับสารภาพของผู้ถูกจับ -5. การสอบสวนปากคำผู้ต้องหาของพนักงานสอบสวน -6. การแจ้งข้อหาผู้ต้องหาในชั้นพนักงานสอบสวน บทที่ 10 การควบคุมผู้ต้องหาในอำนาจของพนักงานสอบสวน -1. การควบคุมผู้ต้องหาในอำนาจของพนักงานสอบสวน -2. การควบคุมผู้ต้องหาในคดีลหุโทษของพนักงานสอบสวน -3. การควบคุมผู้ต้องหาในคดีอาญาที่อยู่ในอำนาจศาลแขวง --3.1 ผู้ต้องหาถูกจับกุมตัว --3.2 ผู้ต้องหาเข้าพบพนักงานสอบสวน (ไม่มีการจับกุม) -4. การควบคุมผู้ต้องหาในคดีอาญาที่อยู่ในอำนาจศาลอาญาหรือศาลจังหวัด --4.1 กรณีผู้ต้องหาไม่ได้รับการปล่อยชั่วคราวในชั้นพนักงานสอบสวน --4.2 กรณีผู้ต้องหาได้รับการปล่อยตัวชั่วคราวในชั้นพนักงานสอบสวน -5. การควบคุมผู้ต้องหาคดีที่อยู่ในอำนาจศาลเยาวชนและครอบครัว --การดำเนินคดีกับผู้ต้องหาที่เป็นเด็กหรือเยาวชน --ขั้นตอนการจับกุมเด็กหรือเยาวชน --การถามปากคำ (การสอบสวน) ผู้ต้องหาที่เป็นเด็กหรือเยาวชน --การตรวจสอบการจับเด็กหรือเยาวชนโดยศาล --การดำเนินดคีกับเด็กที่กระทำผิดอายุไม่เกิน 10 ปีบริบูรณ์ --สำนวนการสอบสวนคดีเด็กที่กระทำผิดอายุไม่เกิน 10 ปีบริบูรณ์ --การฟ้องคดีผู้ต้องหาคดีที่อยู่ในอำนาจศาลเยาวชนและครอบครัว -6. การควบคุมผู้ต้องหาในคดีอาญาที่อยู่ในอำนาจศาลทหาร --6.1 บุคคลที่อยู่ในอำนาจศาลทหาร --6.2 คดีที่ไม่อยู่ในอำนาจศาลทหาร --6.3 ผู้มีอำนาจสอบสวนผู้ต้องหาที่เป็นทหารกระทำผิดคดีอาญา --6.4 อำนาจการควบคุมผู้ต้องหาที่เป็นทหารในชั้นพนักงานสอบสวน --6.5 สิทธิของผู้ต้องหาที่เป็นทหาร บทที่ 11 วันกระทำความผิด, อายุความ -1. วันกระทำความผิด -2. อายุความฟ้องคดีอาญา -3. อายุความร้องทุกข์ในคดีความผิดอันยอมความได้ -4. อายุความคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องคดีอาญา -5. การฟ้องเพิ่มโทษหรือการฟ้องบวกโทษ -6. การขอสืบพยานในคดีอาญาไว้ก่อน --6.1 การขอสืบพยานไว้ก่อนฟ้องคดีต่อศาล --6.2 การขอสืบพยานไว้ก่อนถึงกำหนดวันนัดสืบพยาน บทที่ 12 การชันสูตรพลิกศพ -1. เหตุในการชันสูตรพลิกศพ -2. การปฏิบัติเกี่ยวกับการชันสูตรพลิกศพ -3. การชันสูตรพลิกศพกรณีพิเศษ -4. การปฏิบัติในการชันสูตรพลิกศพกรณีพิเศษ -5. การทำสำนวนการสอบสวนในกรณีมีการชันสูตรพลิกศพกรณีพิเศษตาม ม. 155/1 -6. ข้อหารือแนวทางการขอขยายเวลาการสอบสวนคดีชันสูตรพลิกศพ บทที่ 13 การปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาในชั้นพนักงานสอบสวน -1. สาระสำคัญของสัญญาปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหา -2. สัญญาประกันสิ้นสุดเมื่อใด -3. ขั้นตอนการปฏิบัติกรณีนายประกันผิดสัญญาประกัน -4. หน้าที่ของนายตำรวจติดต่อประสานงานในการฟ้องแพ่งฐานผิดสัญญาประกัน บทที่ 14 การเปรียบเทียบคดีอาญา -1. หลักเกณฑ์การเปรียบเทียบคดีอาญา -2. วิธีการเปรียบเทียบ -3. บันทึกการเปรียบเทียบ -4. ของกลางในคดีเปรียบเทียบ -5. การพิจารณาเปรียบเทียบของพนักงานอัยการ บทที่ 15 ของกลางในคดีอาญา -1. ทรัพย์สินที่เจ้าพนักงานมีอำนาจยึดเป็นของกลาง -2. การขอคืนของกลาง -3. ของกลางและของส่วนตัวผู้ต้องหา -4. การขายทอดตลาด -5. การเก็บรักษาของกลาง -6. การคืนของกลางตาม ป.วิ.อ. มาตรา 85 -7. การขอรับของกลางไปเก็บรักษาระหว่างการสอบสวนตาม ป.วิ.อ.มาตรา 85/1 -8. หลักเกณฑ์การคืนรถของกลางตาม พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ. 2522 -9. การยึดรถยนต์ของกลางคดีรถบรรทุกน้ำหนักเกินอัตรากำหนดเมื่อศาลสั่งริบ -10. การคืนรถยนต์ของกลางซึ่งใช้ในการกระทำผิดเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษ -11. การคืนรถยนต์ของกลางกรณีคู่กรณีโต้แย้งกรรมสิทธิ์ -12. ผู้ขับขี่รถยนต์ต้องมีสำเนาภาพถ่ายหนังสือแสดงการจดทะเบียนรถติดตัวด้วยในขณะขับรถ -13. การคืนของกลางที่ยึดจากโรงรับจำนำ บทที่ 16 เรื่องที่ควรรู้เกี่ยวกับการสอบสวน -1. การสรุปสำนวนไม่ปรากฎว่าผู้ใดเป็นผู้กระทำผิด -2. การสอบสวนเพิ่มเติมของพนักงานสอบสวน -3. อำนาจคุมตัวผู้ต้องหากรณีขาดฝากขัง -4. การออกหมายเรียกบุคคลต่างท้องที่ในคดีอาญา -5. การส่งคำคู่ความในคดีแพ่ง -6. การกันผู้ต้องหาเป็นพยาน --6.1 สาเหตุของการกันผู้ต้องหาเป็นพยาน --6.2 คดีที่จะกันผู้ต้องหาเป็นพยาน --6.3 ผู้มีอำนาจอนุญาตให้กันผู้ต้องหาเป็นพยาน --6.4 วิธีปฏิบัติในการกันผู้ต้องหาเป็นพยาน --6.5 การกันข้าราชการตำรวจผู้ร่วมกระทำผิดเป็นพยาน บทที่ 17 การสอบสวนคดีฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด -1. การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด -2. เงื่อนไขส่วนตัวของผู้กระทำผิด -3. การปฏิบัติของพนักงานสอบสวน -4. คณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด -5. การปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับการสอบสวน -6. ระยะเวลาการฟื้นฟู บทที่ 18 มาตรการริบทรัพย์สินตามพระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. 2534 -1. พ.ร.บ. มาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. 2534 -2. การดำเนินคดียาเสพติด -3. บทบาทมาตรการริบทรัพย์สิน -4. กระบวนการริบทรัพย์สินที่เกี่ยวเนื่อง -5. เครื่องมือสนับสนุนมาตรการริบทรัพย์สิน -6. เงื่อนไขของกฎหมายที่สนับสนุนมาตรการริบทรัพย์สิน -7. ข้อจำกัดของกฎหมาย -8. การยึดหรืออายัด -9. การจัดการทรัพย์สินที่ยึดหรืออายัด -10. การจัดการทรัพย์สินที่ตกเป็นของกองทุน -11. การนำทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์ -12. การขอนำทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์ -13. การจ่ายเงินช่วยเหลือ -14. การจ่ายเงินสินบนรางวัล -15. ขั้นตอนการจ่ายเงินรางวัล -16. การประสานการตรวจสอบทรัพย์สิน -17. เงื่อนไขในการสั่งตรวจสอบทรัพย์สิน -18. ทรัพย์สินที่ยึดไม่ได้ -19. แนวทางดำเนินการของพนักงานสอบสวน -20. เอกสารประกอบการสั่งตรวจสอบ -21. แนวทางดำเนินการของพนักงานสอบสวนเมื่อมีคำสั่งตรวจสอบ -22. การดำเนินการของพนักงานเจ้าหน้าที่ -23. การรวบรวมข้อมูล -24. บทบาทของผู้สืบสวนจับกุม -25. การประสานงานระหว่างผู้สืบสวนจับกุม พนักงานสอบสวน พนักงานเจ้าหน้าที่ บทที่ 19 ระเบียบสำนักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยการดำเนินคดีอาญาของพนักงานอัยการ พ.ศ. 2547 -1. การรับสำนวนรู้ตัวผู้กระทำความผิด แต่เรียกหรือจับตัวยังไม่ได้ -2. การรับสำนวนรู้ตัวผู้กระทำความผิดและผู้นั้นถูกควบคุมหรือขังอยู่หรือปล่อยตัวชั่วคราวหรือเชื่อว่าคงได้ตัวมาเมื่อออกหมายเรียก -3. การออกคำสั่งกรณีสิทธิฟ้องคดีอาญาระงับ -4. หลักการทั่วไปในการตรวจพิจารณาสำนวน -5. การสั่งคดีสำหรับผู้ต้องหาที่ยังเรียกหรือจับตัวไม่ได้ -6. การทบทวนความเห็นหรือคำสั่ง -7. การแจ้งให้พนักงานสอบสวนดำเนินคดี -8. การดำเนินคดีผิดตัว -9. อำนาจสอบสวนเพิ่มเติมของพนักงานสอบสวน -10. การพิจารณาฐานความผิดและการแจ้งข้อหาเพิ่มเติม -11. การสอบสวนเพิ่มเติมก่อนมีความเห็นหรือคำสั่ง -12. การสั่งให้ส่งพยานมาเพื่อซักถาม -13. การคัดค้านขอคืนทรัพย์สินของกลาง -14. การแจ้งให้ปฏิบัติเกี่ยวกับของกลาง -15. หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการใช้ดุลพินิจสั่งไม่ฟ้อง -16. การกันผู้ต้องหาเป็นพยาน -17. การสอบสวนผู้ต้องหาที่สั่งไม่ฟ้องเป็นพยาน -18. วิธีปฏิบัติเมื่อมีคำสั่งไม่ฟ้อง -19. การแจ้งคำสั่งเด็ดขาดไม่ฟ้องคดี -20. การสั่งงดการสอบสวนคดีไม่ปรากฏตัวผู้กระทำความผิด -21. หลักการปฏิบัติในคดีเปรียบเทียบ -22. การสั่งคดีเปรียบเทียบ -23. สำนวนที่ผู้ต้องหาถูกคุมขังอยู่ในคดีอื่นที่เรือนจำซึ่งอยู่ในเขตอำนาจศาลอื่น -24. การนำพยานหลักฐานนอกสำนวนเข้าสืบ -25. พยานกลับคำ -26. กรณีคดีเกินอำนาจศาลแขวงภายหลังยื่นฟ้องแล้ว -27. การรับสำนวนที่ต้องขออนุญาตฟ้อง -28. การเขียนความเห็นและคำสั่งสำนวนที่ต้องขออนุญาตฟ้อง -29. วิธีปฏิบัติในการขออนุญาตฟ้อง -30. วิธีปฏิบัติบางประการก่อนส่งสำนวนเพื่อขออนุญาตฟ้อง -31. การยื่นฟ้องคดีที่อัยการสูงสุดอนุญาตให้ฟ้อง -32. การดำเนินการเมื่อผู้ต้องหาที่อัยการสูงสุดอนุญาตให้ฟ้องไม่มาตามนัด -33. กรณีที่ไม่ต้องขออนุญาตฟ้องผู้ต้องหา -34. การแจ้งคำสั่งไม่อนุญาตให้ฟ้อง -35. การสั่งคดีกรณีร้องขอความเป็นธรรม -36. การสั่งคดีความผิดหลายฐานซึ่งเกี่ยวพันกัน -37. แนวปฏิบัติของพนักงานอัยการเกี่ยวกับสำนวนการสอบสวน --37.1 ระยะเวลาในการรับสำนวน --37.2 สำนวนที่ผู้ต้องหาประกันตัวแต่พนักงานสอบสวนมิได้ส่งสำนวนภายในกำหนด 6 เดือนหรือสำนวนที่พ้นกำหนดผัดฟ้องครั้งสุดท้ายจะรับเป็นสำนวนประเภทใด ภาคผนวก -1. ข้อบังคับของประธานศาลฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการออกคำสั่งหรือหมายอาญา พ.ศ. 2548 -2. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการปฏิบัติและประสานงานกรณีทหารถูกหาว่ากระทำความผิดอาญา พ.ศ. 2544 -3. ระเบียบราชการศาลทหาร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2545 -4. คำชี้แจงกรมพระธรรมนูญ เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการขอให้ศาลทหารมีคำสั่งหรือออกหมายขัง หมายจับ และหมายค้น -5. รายชื่อศาลทหารทั่วราชอาณาจักรที่เปิดทำการ -6. บันทึกแจ้งการจับกุมผู้ต้องหาเป็นเด็กไปยังสถานพินิจ -7. คำร้องขอผัดฟ้องผู้ต้องหาศาลเยาวชนฯ ครั้งที่ 1 -8. คำร้องขอผัดฟ้องผู้ต้องหาศาลเยาวชนฯ ครั้งที่ 2 -9. บันทึกคำให้การผู้ต้องหาที่ให้การรับสารภาพในศาลแขวง -10. คำร้องขอผัดฟ้องศาลแขวงฯ ครั้งที่ 1 -11. คำร้องขอผัดฟ้องศาลแขวงฯ ครั้งที่ 2 -12. คำร้องขอฝากขังศาลอาญาหรือศาลจังหวัด ครั้งที่ 1 -13. คำร้องขอฝากขังศาลอาญาหรือศาลจังหวัด ครั้งที่ 2 -14. คำร้องขอฝากขังศาลอาญาหรือศาลจังหวัด ครั้งที่ 3 -15. คำร้องขอฝากขังศาลอาญาหรือศาลจังหวัด ครั้งที่ 4 -16. คำร้องขอฝากขังครั้งที่ 1 ที่คัดค้านการประกันตัวผู้ต้องหา -17. คำร้องขอให้ศาลมีคำสั่งส่งตัวผู้ต้องหาไปฟื้นฟู -18. คำร้องขอยกคำร้องและขอรับตัวผู้ต้องหา -19. บันทึกการแจ้งสิทธิของผู้ถูกจับหรือผู้องหาในชั้นรับมอบตัว -20. บันทึกผู้ต้องหาหรือผู้ถูกจับติดต่อญาติ -21. บันทึกการแจ้งสิทธิของผู้ต้องหาในชั้นสอบสวน -22. บันทึกการแจ้งข้อหา -23. บันทึกการแจ้งสิทธิของผู้เสียหายตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 44/1 -24. หนังสือแจ้งความคืบหน้าการสอบสวนคดีอาญา -25. คำร้องตรวจสอบการจับในศาลเยาวชนและครอบครัว บรรณานุกรม ปกหลัง
|