สารบัญ:
|
ปกหน้า คำนิยม คำนำในการพิมพ์ครั้งที่ 2 คำนำในการพิมพ์ครั้งที่ 1 สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ -3.29 โมเดลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสองจริยธรรมครู แก้คำผิด บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโมเดลสมการโครงสร้าง -ความสำคัญของโมเดลสมการโครงสร้าง -1.1 โมเดลการวิเคราะห์ Path analysis -1.2 โมเดลการวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่ายระหว่าง K กับ E -โมเดลสมการโครงสร้าง -ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโมเดลสมการโครงสร้าง -1.3 โมเดลสมการโครงสร้าง -ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโมเดลสมการโครงสร้าง -1.4 ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโมเดลสมการโครงสร้าง -1.5ก โมเดลการวิเคราะห์องค์ประกอบเดี่ยว -1.5ข โมเดลการวิเคราะห์องค์ประกอบเดี่ยวที่บังคับให้ค่าน้ำหนักองค์ประกอบค่าหนึ่งมีค่าเป็น 1.00 -1.5ค โมเดลการวิเคราะห์องค์ประกอบเดี่ยวที่บังคับให้ค่าน้ำหนักองค์ประกอบค่าหนึ่งมีค่าเป็น 1.00 ค่าความแปรปรวนของความคลาดเคลื่อนของตัวแปรสังเกตได้ X2 ให้มีค่าเป็น 0.00 -รูปแบบของเมทริกซ์ที่ใช้ในโมเดลสมการโครงสร้าง -ประเภทของพารามิเตอร์ในโมเดลสมการโครงสร้าง -1.6 โมเดลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน -การระบุรูปแบบของเมทริกซ์และประเภทของพารามิเตอร์ -1.7 โมเดลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ -ดัชนีที่ช้ในการตรวจสอบความสอดคล้อง/กลมกลืนของโมเดลกับข้อมูลเชิงประจักษ์ -1.8 ดัชนีแสดงความสอดคล้อง/กลมกลืนของโมเดล -การประเมินโมเดลการวัด -ความเที่ยงของตัวแปรแฝง -ค่าเฉลี่ยของความแปรปรวนที่ถูกสกัดได้ -การประเมินโมเดลโครงสร้าง -การปรับโมเดล -การประมาณค่าในโมเดลสมการโครงสร้าง -ความแกร่งของการประมาณค่าของโมเดลสมการโครงสร้าง บทที่ 2 การเขียนคำสั่งด้วยโปรแกรมลิสเรล -การเตรียมข้อมูล -2.1 ค่าสหสัมพันธ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล -การใช้โปรแกรม LISREL --วิธีการเข้าสู่โปรแกรม --การเข้าสู่โปรแกรม LISREL --การนำข้อมูลเข้า --การกำหนดตัวแปร --การตรวจสอบและการเตรียมข้อมูล -ตัวอย่างผลการเตรียมข้อมูลสำหรับการวิเคราะห์ -การระบุโมเดลและการพัฒนาโมเดล --การวาดรูป --การกำหนดคำสั่ง --การเขียนคำสั่งด้วยโปรแกรม PRELIS --การเขียนคำสั่งด้วยโปรแกรมลิสเรล -ตัวอย่างการเขียนคำสั่ง -2.1 กรอบการวิจัย --การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ บทที่ 3 การวิเคราะห์องค์ประกอบ -วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์องค์ประกอบ -3.1 คำถามในแบบสอบถามและชื่อตัวแปร -ประโยชน์ของการวิวเคราะห์องค์ประกอบ -3.1 โครงสร้างของแบบวัดความสามารถพื้นฐาน -ข้อตกลงเบื้องต้นและการทดสอบ -โมเดลการวิเคราะห์องค์ประกอบ -3.2 ความแปรปรวนในการวัดตัวแปรสังเกตได้ -3.3 การแบ่งส่วนความแปรปรวนในตัวแปรสังเกตได้ --ตัวอย่างการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจด้วย โปรแกรม SPSS -3.2 คำน้ำหนักองค์ประกอบ ค่าความร่วมกัน และค่าไอเกน -3.4 โมเดลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ -3.5 การหมุนแกนองค์ประกอบ -3.6 หน้าต่าง Factor Analysis --การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน -3.7 หน้าต่าง Factor Analysis: Descriptive -3.8 หน้าต่าง Factor Analysis: Extraction -3.9 หน้าต่าง Factor Analysis: Rotation -3.10 หน้าต่าง Factor Analysis: Factor Scores -3.3 Descriptive Statistics -3.4 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร OPINI-OPIN9 -3.5 ค่า KMO และ Bartlett's Test -3.6 ค่า communalities -3.7 Total Variance Explained -3.8 Component Matrix -3.11 Scree Plot -3.9 Rotated Component Matrix -3.10 Component Transformation Matrix -3.11 Component Score Coefficient Matrix -3.12 component plot in Rotated Space -3.13 โมเดลเริ่มต้นในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน --ขั้นตอนการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนด้วย โปรแกรม LISREL --ตัวอย่างการวิเคราะห์ประกอบเชิงยืนยันด้วยโมเดลลิสเรล --ตัวอย่างผลการวิเคราะห์ที่สำคัญ -3.14 ภาพโมเดลองค์ประกอบที่วาดลงในโปรแกรม --การอ่านผลการวิเคราะห์ข้อมูล -3.15 ผลการวิเคราะห์ที่ 1 --การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สองด้วย โปรแกรมลิสเรล -3.16 ผลการปรับโมเดลลากเส้น TD(3,1) -3.12 การปรับโมเดลในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน -3.17 ผลการปรับโมเดลลากเส้น TD(3,1) และ TD(7,6) -3.18 ผลการปรับโมเดลลากเส้น TD(3,1) TD(7,6) TD(5,4) -3.19 ผลการปรับโมเดลลากเส้น TD(3,1) TD(7,6) TD(5,4) TD(4,1) -3.13 ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันด้วยโปรแกรมลิสเลล -3.14 ความเที่ยง (Pc) ของตัวแปรแฝง และความแปรปรวนเฉลี่ยที่สกัดได้ (Pv) -3.20 โมเดลองค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสอง -3.21 กำหนด OPINI-OPIN9 เป็น Y และ STYLE FACILTY และ COST และ ETA -3.22 โมเดลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สอง -3.23 การกำหนดน้ำหนักองค์ประกอบให้เป็นค่าคงที่ -3.15 การปรับโมเดลในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสอง -3.24 ผลการวิเคราะห์ครั้งที่ 1 -3.25 ผลการปรับโมเดลองค์ประกอบอันดับสองโดยลากเส้น TE(3,1) -3.26 ผลการปรับโมเดลองค์ประกอบอันดับสองโดยลากเส้น TE(3,1) TE(7,6) -3.27 ผลการปรับโมเดลองค์ประกอบอันดับสองโดยลากเส้น TE(3,1) TE(7,6) TE(5,4) -3.28 ผลการปรับโมเดลองค์ประกอบอันดับสองโดยลากเส้น TE(3,1) TE(7,6) TE(5,4) TE(4,1) -ตัวอย่างการประยุกต์ใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน -3.30 โมเดลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสองการรับรู้ความสามารถของตนเองด้านคอมพิวเตอร์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ในมหาวิทยาลัยของรัฐ -3.31 โมเดลองค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสองของตัวบ่งชี้คุณภาพการบริหารจัดการของมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ บทที่ 4 การวิเคราะห์อิทธิพลเชิงสาเหตุ -ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล -การพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุ -หลักการเขียนโมเดลเชิงสาเหตุ -4.1 กระบวนการสร้างโมเดล -ตัวแปรของความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล -ทฤษฎีสัมประสิทธ์อิทธิพล -4.2 ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรภายนอกกับตัวแปรภายใน -ส่วนประกอบของการวิเคราะห์อิทธิพล -4.3 โมเดลเชิงสาเหตุ -ข้อตกลงเบื้องต้นของการวิเคราะห์อิทธิพลเชิงสาเหตุ -หลักการวิเคราะห์อิทธิพลด้วยโมเดลสมการโครงสร้าง -4.4 แผนภาพโมเดลสมการโครงสร้างแบบเต็มรูป -งานวิจัยที่เกี่ยวกับการวิเคราะห์อิทธิพลเชิงสาเหตุแบบมีตัวแปรแฝง -4.5 โมเดลเชิงสาเหตุขององค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อภาวะความเป็นผู้นำของคณบดีสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย -4.6 โมเดลเชิงสาเหตุความมีวินัยในตนเองของนักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี -4.7 โมเดลแสดงความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น -4.8 โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุการกำกับตนเองในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 -4.9 โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ -4.10 โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความเหยื่อยหน่ายในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน -4.11 โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้อย่างมีความสุข -4.12 โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุและผลของการใฝ่รู้ทางวิทยาศาสตร์ในช่วงชั้นที่ 4 -ตัวอย่างการวิเคราะห์อิทธิพลเชิงสาเหตุแบบมีตัวแปรแฝง -ขั้นตอนการวิเคราะห์อิทธิพลเชิงสาเหตุด้วยโปรแกรม LISREL -4.13 โมเดลเชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพปฏิบัติงานของครู -4.14 หน้าต่างแสดงการกำหนด Title and Comments -4.15 หน้าต่างแสดงการกำหนด Labels -4.16 หน้าต่างแสดงการกำหนด DATA -4.17 หน้าต่างแสดงการกำหนดตัวแปรสังเกตได้ Y ตัวแปรแฝงภายใน (ETA) -4.18 หน้าต่างแสดงการวาดภาพตามโมเดลการวิจัย -4.19 หน้าต่างแสดงการกำหนด Automatic Model Modification -4.20 หน้าต่างแสดงการกำหนด Output -4.21 หน้าต่างแสดงภาพผลการวิเคราะห์ (ครั้งที่ 1) -4.22 ผลการวิเคราะห์ (ครั้งที่ 2) -4.1 ความเที่ยง (Pc) ของตัวแปรแฝง ความแปรปรวนเฉลี่ยของตัวแปรที่สกัดได้ด้วยองค์ประกอบ (Pv) และค่าความเที่ยงของตัวแปรสังเกตได้ (R2) -4.2 ผลการวิเคราะห์การถดถอยในโมเดลโครงสร้าง -4.23 ผลการวิเคราะห์โมเดลเชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพการปฏิบัติงานของครู บทที่ 5 การวิเคราะห์คะแนนพัฒนาการด้วยโมเดลโค้งพัฒนาการ -แนวคิดและความเป็นมาของการวัดพัฒนาการ -ความหมายของคะแนนพัฒนาการ -ความเป็นมาของการวัดพัฒนาการ -วิธีการวัดพัฒนาการแบบดั่งเดิม -วิธีการวัดคะแนนความแตกต่าง -วิธีวัดคะแนนความสัมพัทธ์ -5.1 การเปรียบเทียบคะแนนพัฒนาการจากการวัด 2 ครั้ง -5.1 ผลการวิเคราะห์คะแนนพัฒนาการ 2 วิธีจากการวัดก่อนและหลังเรียน -วิธีการวัดอัตราพัฒนาการเฉลี่ยจากคะแนนการวัดมากกว่า 2 ครั้ง -5.2 คะแนนการวัดภาษาอังกฤษ 4 ครั้งของผู้เรียน 3 คนที่มีคะแนนเต็ม 50 คะแนน -การวัดการเปลี่ยนแปลงแนวใหม่ -5.3 การเปรียบเทียบโมเดลของการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงจากการวัดแนวใหม่ -โมเดลโค้งพัฒนาการที่มีตัวแปรแฝง -5.2 โค้งพัฒนาการที่มีตัวแปรแฝงที่มีแบบแผนเชิงเส้นตรง -5.3 โมเดลโค้งพัฒนาการที่มีตัวแปรแฝงที่มีแบบแผนเชิงเส้นโค้ง -งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับวิธีวิทยาการวัดการเปลี่ยนแปลง -การวิเคราะห์โมเดลโค้งพัฒนาการฯ ด้วยโปรแกรม LISREL -ขั้นตอนการวิเคราะห์โมเดลโค้งพัฒนาการฯ ด้วยโปรแกรม LISREL -กรณีข้อมูลนำเข้าเป็นเมทริซ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร -ตัวอย่างโมเดลงานวิจัยโค้งพัฒนาการ -5.4 โมเดลโค้งพัฒนาการที่ศึกษา ปัจจัยตัวแปรเพศที่ส่งผลต่ออัตราพัฒนาการคะแนนการสอนอ่าน -5.5 โมเดลโค้งพัฒนาการที่ศึกษาด้านเชาวน์ปัญญาและเชาวน์อารมณ์ที่ส่งผลต่ออัตราพัฒนาการวิชาคณิตศาสตร์ -ตัวอย่างโมเดลโค้งพัฒนาการที่มีตัวแปรแฝง -5.4 ค่าดัชนีประสิทธิภาพของโมเดลโค้งพัฒนา -5.5 ค่าเฉลี่ยและความแปรปรวนของความสามารถเดิมและอัตราพัฒนาการ -5.6 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างความสามารถเดิม และอัตราพัฒนาการ -5.7 ค่าน้ำหนักองค์ประกอบของอัตราพัฒนาที่มีต่อคะแนนการวัดครั้งที่ 1-4 -5.8 ความแปรปรวนของคะแนนความคลาดเคลื่อนในการวัด -5.9 คะแนนองค์ประกอบของความสามารถเดิมและอัตราพัฒนาการของคะแนนการสอบภาษาไทยครั้งที่ 1-4 บทที่ 6 การวิเคราะห์กลุ่มพหุและความไม่แปรเปลี่ยนของการวัด -แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์กลุ่มพหุ -ความสำคัญของการวิเคราะห์กลุ่มพหุ -ลักษณะของการวิเคราะห์โมเดลกลุ่มพหุ -6.1 การทดสอบสมมติฐานที่เป็นไปได้ด้วยเทคนิคกลุ่มพหุ -การวิเคราะห์ความไม่แปรเปลี่ยนของโมเดลการวัด -ตัวอย่างการวิเคราะห์ความไม่แปรเปลี่ยนของโมเดลการวัด -6.1 หน้าต่าง Group Names -6.2 หน้าต่าง Labels แสดงตัวแปรสังเกตได้และตัวแปรแฝง --6.3 หน้าต่าง Data ของกลุ่มนักเรียนชาย --6.4 หน้าต่าง Data ของกลุ่มนักเรียนหญิง --6.5 โมเดลที่วาด -6.2 คำสั่งที่ได้จากการวาดภาพ และการแก้ไขคำสั่งเพื่อวิเคราะห์ขั้นที่ 1 โมเดลเหมือนกัน -6.6(ก) ค่าพารามิเตอร์ของกลุ่มนักเรียนชาย -6.6(ข) ค่าพารามิเตอร์ของกลุ่มนักเรียนหญิง -6.3 คำสั่งเพื่อปรับโมเดล -6.7(ก) ค่าพารามิเตอร์ของกลุ่มนักเรียนชาย เมื่อปรับโมเดลโดยลากเส้น TD(6,5) -6.7(ข) ค่าพารามิเตอร์ของกลุ่มนักเรียนหญิง เมื่อปรับโมเดลโดยลากเส้น TD(6,5) -6.8 ค่าพารามิเตอร์ของกลุ่มนักเรียนชาย เมื่อปรับโมเดลโดยลากเส้น TD(6,5) TD(3,1) TD(6,2) TD(5,4) -6.4 คำสั่งเพื่อวิเคราะห์ขั้นที่ 1 โมเดลเหมือนกันและคำสั่งให้เมทริกซ์ขั้นที่ 2 เมทริกซ์ LX Invariance -6.9 ค่าพารามิเตอร์ของกลุ่มนักเรียนชาย (ก) และกลุ่มนักเรียนหญิง (ข) เมื่อกำหนดให้เมทริกซ์ LX=IN -6.5 คำสั่งเพื่อวิเคราะห์ขั้นที่ 3 โมเดลเหมือนกันและคำสั่งให้เมทริกซ์ LX และ TD Invariance -6.10 ค่าพารามิเตอร์ของกลุ่มนักเรียนชาย (ก) และกลุ่มนักเรียนหญิง (ข) เมื่อกำหนดให้เมทริกซ์ LX=IN และ TD=IN -6.6 คำสั่งเพื่อวิเคราะห์ขั้นที่ 4 โมเดลเหมือนกันและคำสั่งให้เมทริกซ์ LX TD และ PH Invariance -6.7 สรุปผลการวิเคราะห์ -6.11 ค่าพารามิเตอร์ของกลุ่มนักเรียนชาย (ก) และกลุ่มนักเรียนหญิง (ข) เมื่อกำหนดให้เมทริกซ์ LX=IN TD=IN และ PH=IN -6.8 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่า X2 -ตัวอย่างงานวิจัยกลุ่มพหุ -6.12 แบบจำลองการวัดของการคิดอภิมาน -6.9 ผลการสอบความไม่แปรเปลี่ยนของแบบจำลองการวัดของการคิดอภิมมานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างนักเรียนที่ใช้ภาษาที่หนึ่งต่างกัน -6.10 ผลการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของแบบจำลองการวัดของการคิดอภิมานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างนักเรียนที่มาจากโรงเรียนที่ต่างสังกัดกัน -6.13 โมเดลปัจจัยสาเหตุที่มีต่อการคิดอภิมานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 -6.14 โมเดลปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีต่อการคิดอภิมานของนักศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 -6.11 ผลการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของแบบจำลองความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่มีต่อการคิดอภิมานของนักเรียนชั้นมัธยมปีที่ 6 กับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ตามสมมุติฐาน 9 ข้อที่ตั้งไว้ -6.12 ผลสรุปเมทริกซ์อิทธิพลเชิงสาเหตุระหว่างตัวแปรแฝงภายใน (BE) ที่ไม่มีความแปรเปลี่ยนระหว่างกลุ่มผู้บริหารที่มีระดับการศึกษาต่างกัน ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ภาคผนวก ค ประวัติผู้เขียน ปกหลัง
|