สารบัญ:
|
ปกหน้า สารบาญ ๑. ชื่อ เอไลฮู เยล ที่ป้อมเนต์ยอร์จ เขียนถึงมองซิออร์มาร์แตง ที่ปอนดิเชอรี่ [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย] "เรื่อง ซามูเอล ไวท์ออกเดินทางไปปอนดิเชอรี่แล้ว ได้จัดส่งเรือรบหลวงไปจัดการเรียกเขากลับมา และให้นำเรือที่เขาบังคับการกลับมาด้วย" ๒. ชื่อ การปรึกษาธุรกิจที่ป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร การปรึกษาธุรกิจ (เอกสารเก็บความ)] "เรื่อง เรือฝรั่งเศส ชื่อ "เพรสสิเดนท์" เดินทางมาจากมะริด พร้อมด้วยอัครราชทูตฝรั่งเศส (เซเบเร่ท์) และเชอวาลิเยร์ เดอ โพร์แบงเดินทางเข้ามาใกล้เส้นทางของเรา..." ๓. ชื่อ เคาน์ซิลที่ป้อมเซนต์ยอร์จเขียนถึงเคาน์ซิลที่สุรัต [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เอกสารเก็บความ)] "เรื่อง เหมือนข้างต้น" ๔. ชื่อ สรุปความจากจดหมายทั่วไป ที่มีไปจากป้อมเซนต์ยอร์จ ถึงบริษัทอีต์อินเดีย [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เอกสารเก็บความ)] "เรื่อง สรุปเหตุการณ์ที่มะริดข่าวเกี่ยวกับคณะราชทูตชุดใหม่ เรือสยามสองลำถูกจับยึดไว้" ๕. ชื่อ สรุปความจากจดหมายทั่วไป ที่เขียนจากป้อมเซนต์ยอร์จ ถึงบริษัทอีสต์อินเดีย [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เอกสารเก็บความ)] "เรื่อง มร. ฮอดเจส และ มร. ฮิลล์ ออกเดินทางไปกรุงสยามแล้ว โดยไม่ได้รับคำสั่งก่อน-ข้อได้เปรียบในการตั้งห้างที่เนแกรส์" ๖. ชื่อ จดหมายทั่วไปจากที่ประชุมคณะกรรมการ เขียนถึงเคาน์ซิลที่ป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เอกสารเก็บความ)] "เรื่อง โอกาสสำหรับบริษัทที่จะจัดการยึดและเสริมกำลังป้อมค่ายที่ตะนาวศรี" ๗. ชื่อ บันทึกรายวันของป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร บันทึกรายวัน (เก็บความ)] "เรื่อง เรือสยามเดินทางมาถึงอาจีน" ๘. ชื่อ เจ้าพนักงานห้างที่ปัตตาเวียเขียนถึงเคาน์ซิล ออฟเซเว่นทีน [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (บทแปล) (เก็บความ)] "เรื่อง ข่าวเกี่ยวกับคณะราชทูตฝรั่งเศสและสถานการณ์เกี่ยวกับธุรกิจของชาวฝรั่งเศสในกรุงสยาม" ๙. ชื่อ การปรึกษาธุรกิจที่ป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร รายงานการประชุม (เก็บความ)] "เรื่อง คำสั่งให้เรือ "โรเชสเตอร์" ออกเดินทางไปคูดาลูร์ เพื่อทำการเข้ายึดเรือสยามที่อาจีน" ๑๐. ชื่อ เอไลฮู เยล เขียนถึงกัปตันจอห์น บรัมเวลล์ผู้บังคับการเรือโรเชสเตอร์ [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย] "เรื่อง เหมือนข้างต้น" ๑๑. ชื่อ จดหมายเหตุรายวันของป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร จดหมายเหตุรายวัน (เก็บความ)] "เรื่อง ข่าวจาก มร. ฮอดเจส ที่กรุงสยาม" ๑๒. ชื่อ จดหมายเหตุรายวันของป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร จดหมายเหตุรายวัน (เก็บความ)] "เรื่อง ได้รับจดหมายจาก มร. ฮอดเจส และ มร. ฮิลล์ แจ้งมาให้ทราบถึงเรื่องตอนที่ไปถึงมะริด และการเดินทางไปกรุงสยาม" ๑๓. ชื่อ จดหมายเหตุรายวันของป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร จดหมายเหตุรายวัน (เก็บความ)] "เรื่อง เรือรีเบ็กก้า เดินทางมาถึง จากอาจีน" ๑๔. ชื่อ จดหมายเหตุรายวันของ ป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร จดหมายเหตุรายวัน (เก็บความ)] "เรื่อง ได้รับจดหมายจาก มร. มาร์แตง ผู้อำนวยการที่ปอนดิเชอรี่" ๑๕. ชื่อ คำสั่งการจากการประชุมคณะกรรมการส่งไปให้ผู้บังคับการเรือเบนจามินแบรงวิน แห่งเรือเปอร์เซียเมอร์แชนท์ [ลักษณะของเอกสาร คำสั่ง (เก็บความ)] "เรื่อง คำสั่งให้เข้ายึดเรือกรุงสยาม" ๑๖. ชื่อ สรุปความจากจดหมายทั่วไป ที่มีไปจากป้อมเซนต์ยอร์จ ถึงบริษัทอีสต์อินเดีย [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง ไม่มีข่าวจากตะนาวศรี" ๑๗. ชื่อ จอห์น นิคส์ แอนด์ กัมปะนี เขียนถึง เอไลฮู เยล [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง อันตรายจากพวกสยามที่มาชุมนุมกันเป็นจำนวนมากที่ปอนดิเชอรี่" ๑๘. ชื่อ การปรึกษาธุรกิจที่ป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร รายงานการประชุม] "เรื่อง เรืออังกฤษถูกเรือสยามชักธงฝรั่งเศสยึดแล้วนำไปปอนดิเชอรี่ จะให้ส่งเรือ "เบงกอลเมอร์แชนท์" เรือ "ดรากอน" และเรือ "โรเชสเตอร์" ไปไล่กวดเรือสยาม" ๑๙. ชื่อ เอไลฮู เยล ฯลฯ เขียนถึงกัปตัน วิลเลียม เพอร์ส ผู้บังคับการเรือ "เบงกอลเมอร์แชนท์" [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย] "เรื่อง คำสั่งให้แล่นเรือไป ปอร์โตโนโวเพื่อช่วยกิจการของห้าง โดยให้คอยไล่ตามเรือสยามที่ชักธงฝรั่งเศส" ๒๐. ชื่อ เคาน์ซิลที่ป้อมเซนต์ยอร์จเขียนถึงจอห์น นิคส์ ที่คูดาลูร์ [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง กัปตัน บรอมเวลล์ และกัปตันเพียร์ซ ได้รับคำสั่งไปช่วยไล่ตามจับเรือสยาม" ๒๑. ชื่อ เอไลฮู เยล และบริษัท เขียนถึง มร. จอห์น วิลคอกซ์ ที่โคนีเมียร์ [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย] "เรื่อง จดหมายนำทางจัดส่งคำสั่งไปให้กัปตัน เพียร์ซ และกัปตันบรอมเวลล์" ๒๒. ชื่อ จดหมายเหตุรายวันของป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร บันทึกจดหมายเหตุรายวัน] "เรื่อง มร. ฮอดเจส และ มร. ฮิลล์ ยังคงอยู่ที่กรุงสยาม" ๒๓. ชื่อ จดหมายเหตุรายวันเกี่ยวกับการประชุมธุรกิจ [ลักษณะของเอกสาร จดหมายเหตุรายวัน] "เรื่อง ข่าวลือว่าราชทูตที่พระเจ้ากรุงสยามส่งไปพบโมกุล ได้เดินทางไปถึง เมทชเลปัตตัม (มุสุลีปัตตัม ผู้แปล)" ๒๔. ชื่อ จดหมายเหตุรายวันของป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร จดหมายเหตุรายวัน] "เรื่อง เหมือนข้างต้น" ๒๕. ชื่อ จดหมายที่ส่งไปยัง ฯพณฯ ฟรานซิส มาร์ติน ผู้กำกับการประจำบริษัท อีสต์ อินเดียฝรั่งเศส [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย] "เรื่อง เหตุผลสนับสนุนการกระทำเพื่อแก้สถานการณ์ที่ปอนดิเชอรี่ ปอร์โตโนโว และเซนต์โธมัส" ๒๖. ชื่อ จดหมายทั่วไปจากคณะกรรมการที่มีไปยังเคาน์ซิลที่ป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ] "เรื่อง ห้ามก่อชนวนสงครามขึ้นกับพวกฝรั่งเศสที่เมืองมะริดอีก และให้ทำสงครามขับเคี่ยวกับกรุงสยามต่อไป" ๒๗. ชื่อ การประชุมธุรกิจที่ป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร รายงานการประชุม (เก็บความ)] "เรื่อง มร. ฮิลล์ หลบหนีออกมาจากกรุงสยาม มร. ฮอดเจส กับชาวอังกฤษ อีก ๔ คน ถูกกักขังเป็นนักโทษอยู่ที่กรุงสยาม" ๒๘. ชื่อ เอไลฮู เยล แอนด์ คัมปะนี เขียนถึง ? [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง มร.ฮิลล์ เดินทางไปถึงอาจีน มร. ฮอดเจส และชาวอังกฤษอื่น ๆ อีกหลายคนถูกจับกุมเป็นนักโทษอยู่ที่กรุงสยาม มีราชทูตสยาม ๒ คนเดินทางมากับเรือฝรั่งเศสเพื่อไปเฝ้าพระเจ้ากรุงอังกฤษ" ๒๙. ชื่อ เคาน์ซิลที่ป้อมเซนต์ยอร์จ เขียนถึงประธานที่สุรัต [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง มร.ฮิลล์ เดินทางไปถึงอาจีน มร. ฮอดเจส และชาวอังกฤษอีกหลายคนถูกคุมตัวเป็นนักโทษอยู่ที่กรุงสยาม มีราชทูตสยาม ๒ คน เดินทางมากับเรือฝรั่งเศสเพื่อไปเฝ้าพระเจ้ากรุงอังกฤษ" ๓๐. ชื่อ บทสรุปความ จากจดหมายทั่วไปจากป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง เหมือนข้างต้น พวกฝรั่งเศสเรียกร้องเอาเมืองมะริด และบางกอก" ๓๑. ชื่อ รายละเอียดเกี่ยวกับประเทศอินเดีย (ข่าวว่าด้วยอาณาจักรสยาม) [ลักษณะของเอกสาร ข่าวสาร] "เรื่อง บันทึกเหตุการณ์โดยสรุปว่าด้วยการปฏิวัติในปี ค.ศ. ๑๖๘๘ พระเจ้ากรุงสยามเสด็จสวรรคต (พระนารายณ์) พระเพทราชาขึ้นครองราชย์ ประหารชีวิตฟอลคอนและกระบวนการต่อต้านการเผยแพร่ศาสนาคริสเตียน" ๓๒. ชื่อ การปรึกษาธุรกิจที่ป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร รายงานการประชุม (เก็บความ)] "เรื่อง ให้เรือ "โดโรธี" ออกเดินทางไปอาจีน เพื่อคอยดักเรือของโมกุลและของพระเจ้ากรุงสยาม" ๓๓. ชื่อ เอไลฮู เยล เขียนถึงราชินีแห่งอาจีน [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย] "เรื่อง การประทุษร้ายเรือสยามที่อาจีนเพื่อเป็นการแก้เผ็ดที่พวกอังกฤษถูกพวกสยามรังแกกดขี่" ๓๔. ชื่อ จดหมาย [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง ราชทูตของพระเจ้ากรุงสยามมาถึงเพื่อยื่นคำร้องเรียนต่ออังกฤษ" ๓๕. ชื่อ จดหมายจากคุกที่เมืองตะนาวศรี [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง ข่าวเกี่ยวกับ "การเปลี่ยนแปลงที่น่าประหลาดซึ่งได้เกิดขึ้นในกรุงสยาม มะริด และตะนาวศรี" ๓๖. ชื่อ สัญญาที่ได้ต่ออายุแล้วระหว่างบริษัทกับพระเจ้ากรุงสยาม [ลักษณะของเอกสาร สัญญา] "เรื่อง"เนื้อความของสัญญา" ๓๗. ชื่อ เคาน์ซิลที่ป้อมเซนต์ยอร์จเขียนถึงเคาน์ซิลที่สุรัต [ลักษณของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง ข่าวเกี่ยวกับธุรกิจที่อาจีน" ๓๘. ชื่อ เคาน์ซิล ออฟ เซเว่นทีน ที่มิดเดิ้ลเบิร์ก เขียนถึง ข้าหลวงใหญ่ และเคาน์ซิลออฟ อินเดีย [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง เกี่ยวกับเรื่องความประพฤติชั่วร้ายของพวกอังกฤษในกรุงสยาม และเรื่องเรือสัญชาติฝรั่งเศส ๕ ลำ เดินทางมาถึง" ๓๙. ชื่อ บทเจรจาความของเจ้าหน้าที่ผู้แทน บริษัทสัญชาติอังกฤษ ๒ นาย มร. ฮอดเจส และ มร. ฮิลล์ ระหว่างที่พำนักอยู่ในกรุงสยาม [ลักษณะของเอกสาร รายงาน (บทแปล)]"เรื่อง - " ๔๐. ชื่อ เจ้าพนักงานที่ปัตตาเวีย เขียนถึงเคาน์ซิล ออฟเซเว่นทีน [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (บทแปล)] "เรื่อง การดำเนินธุรกิจของพวกฝรั่งเศสในกรุงสยาม" ๔๑. ชื่อ จดหมายเหตุรายวันของป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร จดหมายเหตุรายวัน (เก็บความ)] "เรื่อง ข่าวเกี่ยวกับการปฏิวัติจลาจลในกรุงสยาม" ๔๒. ชื่อ เคาน์ซิลที่ป้อมเซนต์ยอร์จ เขียนถึงบริษัท อีสต์อินเดีย [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง ข่าวเกี่ยวกับการปฏิวัติจลาจลในกรุงสยาม" ๔๓. ชื่อ การปรึกษาธุรกิจที่ป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร รายงานการประชุม (เก็บความ)] "เรื่อง นักโทษชาวอังกฤษหลายคนเดินทางมาจากกรุงสยาม มาถึงด้วยเรือฟรีเกต "เพิร์ล"" ๔๔. ชื่อ คำสั่งของบริษัทมีไปยังกัปตัน จอห์น บอนเนล ผู้บังคับการเรือ "ชันโดส" ซึ่งกำลังมุ่งไปยังป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร คำสั่ง (เก็บความ)] "เรื่อง คำสั่งให้เข้ายึดเรือสยามกับเรืออังกฤษที่ประกอบการค้าโดยไม่มีใบอนุญาตจากบริษัท" ๔๕. ชื่อ เจ้าพนักงานที่ปัตตาเวีย เขียนถึงเคาน์ซิล ออฟเซเว่นทีน [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (บทแปล) (เก็บความ)] "เรื่อง เรื่องราวโดยละเอียดเกี่ยวกับการกบฏในกรุงสยาม" ๔๖. ชื่อ การปรึกษาธุรกิจที่ป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร รายงานการประชุม (เก็บความ)] "เรื่อง เรือสยามชื่อ "ลอเร็ตตา" เกยตื้นมีคำสั่งให้ มร. เฟรเซอร์ จัดการเข้าช่วยเท่าที่จะทำได้" ๔๗. ชื่อ การปรึกษาธุรกิจที่ป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร รายงานการประชุม (เก็บความ)] "เรื่อง เหมือนข้างต้น" ๔๘. ชื่อ การปรึกษาธุรกิจที่ป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร รายงานการประชุม (เก็บความ)] "เรื่อง การกบฏที่เกิดขึ้นในกรุงสยาม เปิดโอกาสให้เราจู่โจมเอาเมืองมะริด" ๔๙. ชื่อ เคาน์ซิลที่บอมเบย์ เขียนถึงบริษัทอีสต์อินเดีย [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง ให้ดำเนินการเรียกใช้หนี้สงครามกับกรุงสยาม" ๕๐. ชื่อ เคาน์ซิลที่ป้อมเซนต์ยอร์จ เขียนถึงบริษัท อีสต์อินเดีย [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง ข่าว มร. ฮอดเจสเดินทางถึงอาจีน" ๕๑. ชื่อ ที่ประชุมคณะกรรมการเขียนถึงเคาน์ซิลที่ป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง ที่ประชุมจะรู้สึกพอใจถ้าจะยกเมืองมะริด และสิทธิในการเก็บอากรขนอนให้แก่บริษัทเป็นผู้จัดเก็บแต่ผู้เดียว" ๕๒. ชื่อ เคาน์ซิลที่ป้อมเซนต์ยอร์จ เขียนถึงบริษัท อีสต์อินเดีย [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง มร. ฮอดเจส กับ มร. ฮิลล์ ไม่ได้รับคำสั่งอย่างเป็นทางการให้เดินทางไปกรุงสยามเพื่อเจรจาสงบศึก" ๕๓. ชื่อ จดหมายเหตุรายวันของป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร จดหมายเหตุรายวัน (เก็บความ)] "เรื่อง มร. ฮอดเจส ถึงแก่กรรม ระหว่างมากับเรือ "รูบี้" ขณะเดินทางอยู่ในเส้นทางบัลลาซอร์ ๕๔. ชื่อ เจ้าพนักงานที่ปัตตาเวียเขียนถึงเคาน์ซิล ออฟเซเว่นทีน [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (บทแปล) (เก็บความ)] "เรื่อง คำสั่งให้ทูลให้พระเจ้ากรุงสยามทรงทราบ และแจ้งพระคลังเรื่อง ภาวะสงครามของประเทศฝรั่งเศสและอังกฤษ" ๕๕. ชื่อ เก็บความจากคำบรรยายของเลอมูเอล แบล้คโมร์ เกี่ยวกับการเดินทาง [ลักษณะของเอกสาร จดหมายเหตุรายวัน (เก็บความ)] "เรื่อง จัดการสินค้าที่ลูกค้าสั่งขึ้นเรือพร้อมทั้งสินค้าของพระเจ้ากรุงสยาม" ๕๖. ชื่อ เคาน์ซิลที่ป้อมเซนต์ยอร์จ เขียนถึงเคาน์ซิลที่บอมเบย์ [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง กองเรือฝรั่งเศสถูกสะกดรอยที่กรุงสยาม และจะเดินทางต่อไปยังเบงกอล" ๕๗. ชื่อ คณะกรรมการเขียนถึงเคาน์ซิลที่บอมเบย์ [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง เหตุผลในการเชื่อมสัมพันธไมตรีกับพระเจ้ากรุงสยาม" ๕๘. ชื่อ เคาน์ซิลที่ป้อมเซนต์ยอร์จ เขียนถึงบริษัทอีสต์ อินเดีย [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง มร. ฮอดเจส ถึงแก่กรรม ที่บัลลาซอร์ พวกอังกฤษได้รับการต้อนรับขับสู้เป็นอย่างดีจากรัฐบาลสยามที่ได้จัดตั้งขึ้นใหม่พวกฝรั่งเศสที่ถูกขับไล่ออกไปนอกประเทศหมดแล้ว คงมีแต่พวกดัทช์เท่านั้นที่ยังคงตั้งรกรากอยู่ที่นั่น ๕๙. ชื่อ เคาน์ซิลที่ปัตตาเวีย เขียนถึงบริษัทดัทช์อีสต์อินเดียที่อิมสเตอดัม [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (บทแปลและเก็บความ)] "เรื่อง นายพลเดส์ฟาร์จ พยายามเข้าไกล่เกลี่ยเรื่องของพระเจ้ากรุงสยามแต่ไม่ประสบผลสำเร็จ ไม่ปรากฏว่ามีเรือชาวอังกฤษเดินทางไปถึงกรุงสยาม" ๖๐. ชื่อ การปรึกษาธุรกิจที่ป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร รายงานการประชุม (เก็บความ)] "เรื่อง จดหมายของเอไลฮู เยล เขียนถึงท่านพระคลัง ทวงหนี้ของบริษัท จากพระเจ้ากรุงสยาม" ๖๑. ชื่อ คณะกรรมการ เขียนถึง เคาน์ซิลที่ป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง ไม่ให้จ่ายเงินเพื่อทำธุรกิจในกรุงสยาม" ๖๒. ชื่อ บันทึกจดหมายเหตุรายวันของป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร จดหมายเหตุรายวัน (เก็บความ)] "เรื่อง ความเคราะห์ร้ายของเลอมูเอลแบล็คโมร์ ที่กรุงสยาม สินค้าในความดูแลซึ่งเป็นของชาวสยามและถูกโจรสลัดอังกฤษทำลายได้รับความเสียหาย ชาวสยามได้เรียกร้องให้ชดใช้ค่าเสียหายนี้" ๖๓. ชื่อ เลอมูเอล แบล้คโมร์ เขียนถึงเคาน์ซิลที่สุรัต [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง เหมือนข้างต้น" ๖๔. ชื่อ เคาน์ซิล ที่สุรัต เขียนถึง บริษัทอีสต์อินเดีย [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง ส่งเรือ "เบนจามิน" บรรทุกสินค้าไปกรุงสยาม" ๖๕. ชื่อ เจ.โครพเล่ เขียนถึง พี.ลาร์จ เกี่ยวกับเรื่องความยุ่งยากที่กรุงสยาม [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง (หน้าที่ตรงกับส่วนนี้ในต้นฉบับเดิมถูกทำลายหมด)" ๖๖. ชื่อ การปรึกษาธุรกิจ (ที่ป้อมเซนต์ยอร์จ ?) [ลักษณะของเอกสาร ที่ปรึกษาธุรกิจ] "เรื่อง บทแปลของจดหมายจากหะยี โมหะหมัด อัลลี ต้องการจะขอใบผ่านทางให้กับเรือนคเรศชัย ซึ่งเป็นเรือของพระเจ้ากรุงสยาม และอัสสิค คอน ได้ส่งของขวัญมาด้วย พร้อมด้วยคำตอบ ซึ่งได้รับทราบและอนุมัติแล้ว" ๖๗. ชื่อ เคาน์ซิล ที่สุรัต เขียนถึงกัปตันเลียวนาร์ด บลูม ผู้บังคับการเรือเบนจามิน [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง คำสั่งให้ออกเรือไปอาจีน และเกดาห์ และให้หยั่งเสียงดูพระเจ้ากรุงสยามพระองค์ใหม่ มีพระทัยเอนเอียงไปเข้าข้างอังกฤษเพียงใดถ้าพระองค์ทรงปฏิเสธไม่ยอมเป็นมิตร ก็ให้จัดการเข้ายึดและทำลายเรือค้าและทรัพย์สมบัติสินค้าของ... ๖๘. ชื่อ สรุปความจากจดหมายทั่วไปที่มีไปจากป้อมเซนต์ยอร์จ ถึงบริษัทอีสต์อินเดีย [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง เกี่ยวกับธุรกิจของเลอมูเอลแบล้คโมร์" ๖๙. ชื่อ เคาน์ซิลที่ป้อมเซนต์ยอร์จ เขียนถึงบริษัท อีสต์อินเดีย [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง สรุปจดหมายตอบของท่านพระคลังมีไปถึงเอไลฮู เยล (ดูข้างบนลำดับที่ ๖๐) กล่าวว่า "พระเจ้ากรุงสยามองค์ปัจจุบันไม่มีพระราชทรัพย์ที่จะชำระหนี้" ฉะนั้นจึงให้ดำเนินสงครมมกับกรุงสยามต่อไป" ๗๐. ชื่อ การประชุมธุรกิจที่ป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร รายงานการประชุม (เก็บความ)] "เรื่อง เสนอให้จัดการกวาดต้อนทรัพย์สมบัติ ผู้คนซึ่งคาดว่าจะเดินทางมาถึงด้วยเรือ อาร์มีเนียน" ๗๑. ชื่อ การปรึกษาธุรกิจที่ป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร รายงานการประชุม (เก็บความ)] "เรื่อง การเข้ายึดกวาดต้อนทรัพย์สมบัติของพระเจ้ากรุงสยามอาจมีอันตรายไม่ปลอดภัย" ๗๒. ชื่อ สรุปความจากเรื่องราวของเลอมูเอล แบล้คโมร์ ที่กล่าวไว้เกี่ยวกับเรื่องการเดินทาง [ลักษณะของเอกสาร บรรยายความ (เก็บความ)] "เรื่อง เดินทางถึงเมืองมะลักกา" ๗๓. ชื่อ สรุปความจากจดหมายทั่วไป ที่มีไปจากป้อมเซนต์ยอร์จ ถึงบริษัทอีสต์อินเดีย [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง การค้ากับกรุงสยามไม่ได้ผล" ๗๔. ชื่อ จดหมายเหตุรายวัน ของ ป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร จดหมายเหตุรายวัน (เก็บความ)] "เรื่อง มร. บารูน ถูกจับข้อหายุยงทหารประจำค่ายให้เดินทางไปกรุงสยามกับเขา" ๗๕. ชื่อ เจ้าพนักงานที่ปัตตาเวีย เขียนถึง บริษัท อีสต์อินเดีย [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ) (บทแปล)] "เรื่อง ซามูเอล บารอน เดินทางจากมัดราสไปยังกรุงสยาม การกระทำที่ลบหลู่ธงอังกฤษในกรุงสยาม" ๗๖. ชื่อ เคาน์ซิลที่บอมเบย์ เขียนถึงบริษัทอีสต์อินเดีย [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง เรือดัทช์ ๓ ลำ เดินทางมาจากฮอลแลนด์ นำข่าวมาแจ้งว่าพวกฝรั่งเศสมีแผนจะทำการบางอย่างแก่เกาะโมลุกกะ" ๗๗. ชื่อ มร. เบาเยียร์ เขียนถึง เคาน์ซิลที่ป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร รายงาน (เก็บความ)] "เรื่อง รายงานเรื่องการค้าในโคชินไชน่า" ๗๘. ชื่อ เจ้าพนักงานที่ตังเกี๋ย เขียนถึงเคาน์ซิลที่ป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง เรืออังกฤษออกเดินทางจากกรุงสยามจะไปตังเกี๋ย ได้แวะที่กัมพูชา" ๗๙. ชื่อ เคาน์ซิลที่ชุตานุตตา (ชาตานาติ) เขียนถึงเคาน์ซิลที่ป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง บาทหลวงตาชารด์ออกเดินทางจากเบงกอล ไปมะริด" ๘๐. ชื่อ คลอส ฟูกท์ และเคาน์ซิลของบริษัทอีสต์ อินเดีย แห่งเดนมาร์กที่ตรังกีบาร์ เขียนถึงนาธาเนียล ฮิกกินสัน และเคาน์ซิลที่ป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง เรือลำหนึ่งในกองเรือของกรุงสยามถูกปล้นสะดมโดยสลัดชาวอังกฤษที่มะริด" ๘๑. ชื่อ บทแปล จดหมายจากหะยี มุหะหมัด อาลี ถึงผู้ช่วย ผู้ว่าราชการที่อินเดีย นาธาเนียล ฮิกกินสัน [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย] "เรื่อง เรือที่มุ่งหน้าไปเมืองตะนาวศรี มีของกำนัลที่จะนำไปทูนเกล้าฯ ถวายพระเจ้ากรุงสยาม ถูกเรืออังกฤษเข้าปล้นสะดม เรือสยามที่เมทชะเลปัตตัมที่จะไปตะนาวศรี ต้องใช้ใบผ่านถึงจะผ่านไปได้" ๘๒. ชื่อ เคาน์ซิลที่บอมเบย์ เขียนถึงเคาน์ซิลที่สุรัต [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง การออกรังควานของเรือฟรีเกท "โมโช" ตามชายฝั่งกรุงสยาม" ๘๓. ชื่อ เคาน์ซิลที่ป้อมเซนต์ยอร์จ เขียนถึงเคาน์ซิลที่บอมเบย์ [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง เหมือนข้างต้น" ๘๔. ชื่อ การปรึกษาธุรกิจที่ป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร รายงานการประชุม (เก็บความ)] "เรื่อง เหมือนข้างต้น" ๘๕. ชื่อ เจ้าพนักงานที่ปัตตาเวีย เขียนถึงเคาน์ซิล ออฟเซเว่นทีน [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (บทแปล) (เก็บความ)] "เรื่อง บาทหลวงตาชารด์ เดินทางจากเบงกอลมาถึงกรุงสยาม แล้วออกเดินทางต่อไปอีก ทั้ง ๆ ที่ยังมิได้ปฏิบัติงานให้ได้ผลแต่ประการใด" ๘๖. ชื่อ จดหมายตอบเป็นลายลักษณ์อักษรไทย ฯพณฯ ออกญาพระคลังฯ [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (บทแปล)] "เรื่อง เกี่ยวกับเรื่องเจรจากันระหว่างจาค๊อบ แจนส์ เดอ รอย และ บาทหลวงตาชารด์ ซึ่งเกี่ยวโยงกับเรื่องพวกฝรั่งเศสที่ตะนาวศรี" ๘๗. ชื่อ เจ้าพนักงานที่เมืองกาลีกูท เขียนถึงเคาน์ซิลที่บอมเบย์ [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง เรือฝรั่งเศส ๒ ลำ เดินทางมาจากเนแกรส์ มีจุดประสงค์จะเข้ายึดตะนาวศรี แต่ต้องเลิกล้มแผนไปเนื่องด้วยเหตุผลบางประการ" ๘๘. ชื่อ เจ้าพนักงานที่ปัตตาเวีย เขียนถึงเคาน์ซิล ออฟเซเว่นทีน [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (บทแปล) (เก็บความ)] "เรื่อง เรือฝรั่งเศส ๔ ลำ มีบาทหลวงตาชารด์ร่วมไปด้วย ได้เดินทางไปถึงเมืองตะนาวศรี" ๘๙. ชื่อ การปรึกษาธุรกิจที่ป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร รายงานการประชุม (เก็บความ)] "เรื่อง สรั่งเรือของพระเจ้ากรุงสยามร้องเรียนเรื่องออกัสติน ฮาร์ทเข้าปล้นสะดมเรือของพระเจ้าอยู่หัวของเขา เรื่องนี้ได้สดับตรับฟังมาเมื่อวันที่ ๒๘ มิถุนายน " ๙๐. ชื่อ การปรึกษาธุรกิจที่ป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร รายงานการประชุม (เก็บความ)] "เรื่อง ออกัสติน ฮาร์ท ถูกพิพากษาโทษและปรับ" ๙๑. ชื่อ การปรึกษาธุรกิจที่ป้อมเซนต์ยอร์จ [ลักษณะของเอกสาร รายงานการประชุม (เก็บความ)] "เรื่อง ออกัสติน ฮาร์ท จ่ายค่าปรับให้ ๒,๐๐๐ พะโกดาส์ และรับเข้าไว้ในบัญชีหนี้ของพระเจ้ากรุงสยาม" ๙๒. ชื่อ ใบเสร็จรับเงินจำนวน ๒,๐๐๐ พะโกดาส์ รับไว้ในบัญชีชำระหนี้ของพระเจ้ากรุงสยามให้กับบริษัท [ลักษณะของเอกสาร ใบเสร็จ (เก็บความ)] "เรื่อง -" ๙๓. ชื่อ สรุปความจากจดหมายทั่วไป ที่มีไปจากป้อมเซนต์ยอร์จ ถึงบริษัทอีสต์อินเดีย [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (เก็บความ)] "เรื่อง สรุปสาระสำคัญคดีออกัสติน ฮาร์ท" ๙๔. ชื่อ เจ้าพนักงานที่ปัตตาเวีย เขียนถึงบริษัท ดัทช์ อีสต์อินเดีย ที่อัมสเตอดัม [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (บทแปล) (เก็บความ)] "เรื่อง พวกฝรั่งเศสและฝรั่งชาวยุโรปชาติอื่น ๆ พยายามหาทางเข้าไปทำธุรกิจในกรุงสยาม" ๙๕. ชื่อ เรื่องราวเกี่ยวกับการค้าพาณิชย์ของอินเดีย เขียนจากสิ่งที่ประสบมาแล้วในระยะ ๑๒ ปี เขียนโดยเซอร์ นิโคลาส เวท [ลักษณะของเอกสาร เรื่องราว (เก็บความ)] "เรื่อง ผลิตผลต่าง ๆ ของกรุงสยาม" ๙๖. ชื่อ เจ้าพนักงานที่ปัตตาเวีย เขียนถึงเคาน์ซิล ออฟเซเว่นทีน [ลักษณะของเอกสาร จดหมาย (บทแปล) (เก็บความ)] "เรื่อง ข่าวเรื่องการกบฏในกรุงสยามและข่าวการเสียโคราชให้แก่ทัพหลวง" ปกหลัง
|