สารบัญ:
|
ปกหน้า คำชี้แจง คำนำ สารบัญ ภาค ๑ เปรียบเทียบความรับผิดประเภทต่าง ๆ ข้อความเบื้องต้น บทที่ ๑ การเปรียบเทียบความรับผิดทางศีลธรรมและความรับผิดทางกฎหมาย ก. ความหมายของศีลธรรมและกฎหมาย ข. แนวแบ่งแยกความรับผิดทางศีลธรรมและความรับผิดทางกฎหมาย บทที่ ๒ การเปรียบเทียบความรับผิดทางอาญาและความรับผิดทางแพ่ง ข้อ ๑ แนวแบ่งแยกระหว่างความรับผิดทางแพ่งและความรับผิดทางอาญา ข้อ ๒ ปัญหาเรื่องความรับผิดทางแพ่งและความรับผิดทางอาญาซ้อนกัน บทที่ ๓ การเปรียบเทียบความรับผิดทางสัญญากับความรับผิดทางละเมิด ข้อ ๑ แนวแบ่งแยกความรับผิดทางสัญญาและความรับผิดทางละเมิด ข้อ ๒ ข้อแตกต่างระหว่างความรับผิดทางสัญญาและความรับผิดทางละเมิด ข้อ ๓ ความรับผิดทางแพ่งมีกี่ชนิด และความรับผิดอย่างใดเรียกว่าเป็นหลักทั่วไป ข้อ ๔ ขอบเขตความรับผิดทางสัญญา ข้อ ๕ ขอบเขตความรับผิดทางละเมิด ภาค ๒ หลักเกณฑ์ความรับผิดทางละเมิด หมวดที่ ๑ ความเสียหาย บทที่ ๑ ความเสียหายที่แน่นอน บทที่ ๒ ความเสียหายในทางศีลธรรมหรือความเสียหายต่อสิทธิที่อยู่นอกเหนือกองทรัพย์สิน ข้อ ๑ ความหมายแห่งความเสียหายในทางศีลธรรม ข้อ ๒ เหตุผลควรอนุญาตให้ผู้เสียหายในทางศีลธรรมเรียกร้องเอาสินไหมทดแทนได้หรือไม่ ข้อ ๓ ความเห็นศาล ข้อ ๔ กฎหมายไทย บทที่ ๓ ความเสียหายที่ได้มีการทดแทนแล้ว ส่วนที่ ๑ กรณีผู้เสียหายได้รับเงินประกันภัยตามสัญญาประกันภัย ส่วนที่ ๒ กรณีที่ผู้เสียหายได้รับเงินบำนาญ ส่วนที่ ๓ กรณีที่ผู้เสียหายได้รับความช่วยเหลือต่อบุคคลภายนอก หมวดที่ ๒ ความผิด บทที่ ๑ ทฤษฎีรับภัย ข้อ ๑ ความคิดที่เป็นบ่อเกิดแห่งทฤษฎีรับภัย ข้อ ๒ เหตุผลสนับสนุนทฤษฎีรับภัย ข้อ ๓ หลักเกณฑ์ความรับผิดทางละเมิดตามทฤษฎีรับภัย ข้อ ๔ เหตุอันคัดค้านทฤษฎีรับภัย ข้อ ๕ อิทธิพลทฤษฎีรับภัย ข้อ ๖ กฎหมายในประเทศอื่น ๆ บทที่ ๒ วิเคราะห์ศัพท์ความผิด ส่วนที่ ๑ วิเคราะห์ศัพท์ที่ยังเลื่อนลอย ส่วนที่ ๒ วิเคราะห์ศัพท์อันพอจะเห็นแจ้งชัด ลักษณะ ๑ ความผิดโดยจงใจ ลักษณะ ๒ ความผิดโดยไม่จงใจหรือประมาทเลินเล่อ บทที่ ๓ ความผิดในกณีต่าง ๆ ส่วนที่ ๑ กรณีผู้ก่อความเสียหายไม่มีความรู้สึกผิดและชอบ ส่วนที่ ๒ การป้องกัน ความจำเป็น การกระทำตามคำสั่ง การใช้กำลังป้องกันสิทธิ ส่วนที่ ๓ ความรับผิดของผู้ประกอบการอาชีพ ส่วนที่ ๔ การละเว้นกระทำ ส่วนที่ ๕ การใช้สิทธิเกินส่วน ลักษณะ ๑ การตั้งปัญหาเรื่องการใช้สิทธิเกินส่วน ลักษณะ ๒ ตัวบทกฎหมายว่าด้วยการใช้สิทธิส่วนเกิน ลักษณะ ๓ ความเห็นศาล ลักษณะ ๔ หลักเกณฑ์แห่งการใช้สิทธิเกินส่วน ลักษณะ ๕ กฎหมายในประเทศต่าง ๆ ลักษณะ ๖ การก่อความรำคาญแก่เพื่อนบ้าน บทที่ ๔ กรณีที่กฎหมายสันนิษฐานว่ามีความผิด ส่วนที่ ๑ ความรับผิดเนื่องจากการกระทำของผู้อื่น ลักษณะ ๑ บิดามารดารับผิดเนื่องจากการกระทำของบุตร ลักษณะ ๒ ครูและครูสอนลูกมือฝึกหัดรับผิดเนื่องจากการกระทำของนักเรียนและลูกมือฝึกหัด ลักษณะ ๓ นายและผู้บังคับบัญชารับผิดเนื่องจากการกระทำของคนใช้และเสมียน ลักษณะ ๔ หลักกฎหมายที่ใช้บังคับแก่ทุกกรณี ส่วนที่ ๒ ความรับผิดเนื่องจากการกระทำของสัตว์ ข้อ ๑ สัตว์ ข้อ ๒ การกระทำของสัตว์ ข้อ ๓ ผู้รับผิด ข้อ ๔ ผู้เสียหาย ข้อ ๕ เหตุยกเว้นความรับผิด ข้อ ๖ มูลฐานแห่งความรับผิดเนื่องจากการกระทำของสัตว์ ข้อ ๗ กฎหมายไทย ส่วนที่ ๓ ความรับผิดเนื่องจากการกระทำของสิ่งของ ลักษณะ ๑ ความรับผิดเนื่องจากการกระทำของสิ่งปลูกสร้าง ลักษณะ ๒ ความรับผิดเนื่องจากการกระทำของสิ่งอื่น ๆ ปกหลัง
|