สารบัญ:
|
ปกหน้า คำนำ หลักกฎหมายจากคำพิพากษาคดีปกครองต่างประเทศ เล่มที่ ๑ สารบัญ ภาค ๑ ภาคสารบัญญัติ (๑) การขอให้เพิกถอนพระราชกฤษฎีกา (คำพิพากษาของที่ประชุมใหญ่สภาแห่งรัฐกรีซ ที่ ๒๓๐๔/๑๙๙๕ ลงวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ค.ศ. ๑๙๙๔) โดย สุรีย์ เผ่าสุขถาวร บทที่ ๑ เงื่อนไขความชอบด้วยกฎหมายของกฎและคำสั่งทางปกครองเฉพาะราย (๒) นิติกรมทางปกครองที่ไม่มีอยู่เลย (actes administratifs; inexistence) (คดี Rosan Girard คำพิพากษาสภาแห่งรัฐฝรั่งเศส (ประชุมใหญ่) ลงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ค.ศ. ๑๙๕๗) โดย ยงยุทธ อนุกูล และดาราพร นพเก้า (๓) การแก้ไขปรับปรุงกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวกับคุณสมบัติผู้สมัครสอบแข่งขันเข้ารับราชการภายหลังจากที่มีการเปิดสมัครไปแล้ว (คดี Mme Talazac คำพิพากษาสภาแห่งรัฐฝรั่งเศส ลงวันที่ ๒๒ มิถุนายน ค.ศ. ๒๐๐๕) โดย เอกสิทธิ์ วินิจกุล (๔) การใช้ดุลพินิจของฝ่ายปกครองในการจำกัดสิทธิเสรีภาพในการเดินทางของประชาชน (คำพิพากษาสภาแห่งรัฐฝรั่งเศส (ที่ประชุมใหญ่) เลขที่ ๑๑๖๘ ลงวันที่ ๔ พฤศจิกายน ค.ศ. ๑๙๙๒) โดย ดร. บุบผา อัครพิมาน (๕) การเพิกถอนรัฐกฤษฎีกาที่ออกโดยผ่านกระบวนการที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย (คดี Mme Devois คำพิพากษาสภาแห่งรัฐฝรั่งเศส ลงวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ค.ศ. ๒๐๐๖) โดย ปิยาภรณ์ ชัยวัฒน์ (๖) มลภาวะทางเสียง (คำพิพากษาสภาแห่งรัฐฝรั่งเศส ลงวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ค.ศ. ๑๙๙๖ ระหว่าง La chambre syndicale du transport aerien กับ Ministre de lequipement du transport et du tourisme) โดย ดร.สุคนธา ศรีภิรมย์ (๗) คำสั่งปิดสถานที่ที่ใช้ในเชิงพาณิชย์ (คำพิพากษาศาลปกครองแห่งประเทศตุรกี แผนคดีปกครององค์คณะที่ ๒ คดีเลขที่ ๓๘๗๙ ระหว่าง Societe Krichen กับประธาน Commune de Kasserine) (๘) เสรีภาพในทางเาษฐกิจ (คำพิพากษาของที่ประชุมใหญ่สภาแห่งรัฐกรีซ ที่ ๑๘๒๐/๑๙๙๕ ลงวันที่ ๗ ตุลาคม ค.ศ. ๑๙๙๔) โดย สุรีย์ เผ่าสุขถาวร (๙) การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมในการจัดทำบริการสาธารณะ (คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดสวีเดน วันที่ ๑๔ มิถุนายน ค.ศ. ๒๐๐๐ (เลขคดี ๗๖๘๐-๑๙๙๗)) โดย นาดาชา วศินดิลก (๑๐) ที่ดินกับพื้นที่ป่าไม้ (คำพิพากษาศาลปกครองแห่งออสเตรีย (Verwaltungsgerichtshof - VwGH) ที่ ZI 90/10/0064) โดย ศศินา นุนนาค (๑๑) การกักตัวผู้ป่วยทางจิต (คำพิพากษาศาลปกครองแห่งออสเตรีย (Verwaltungsgerichr) ที่ ZI 93/11/0035,0036) โดยศศินา บุนนาค (๑๒) การที่สภาแห่งรัฐมีคำวินิจฉัยให้เพิกถอนการกระทำหรือคำสั่งทางปกครองมีผลให้ผู้เสียหายและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกคนกลับคืนสู่สถานะเดิม (คำพิพากษาสภาแห่งรัฐฝรั่งเศส ลงวันที่ ๒๖ ธันวาคม ค.ศ. ๑๙๒๕,คดี Rodiere, rec. Lebon, p 1065) โดย ดร.ปิยะศาสตร์ ไขว้พันธุ์ (๑๓) คำสั่งบรรจุข้าราชการเป็นคำสั่งที่สมบูรณ์ หากฝ่ายปกครองมิได้เพิกถอนคำสั่งของตนภายในกำหนด ๔ เดือนนับแต่วันมีคำสั่ง (คำพิพากษาสภาแห่งรัฐฝรั่งเศส ลงวันที่ ๒๖ ธันวาคม ค.ศ. ๒๐๐๑ คดี M. Ternon, No 197018.) โดย ดร.ปิยะศาสตร์ ไขว้พันธุ์ (๑๔) การเพิกถอนคำสั่งทางปกครองที่เป็นการให้ประโยชน์ (คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดสวีเดน วันที่ ๑๐ เมษายน ค.ศ. ๒๐๐๐ เลขคดี ๗๘๑๘-๑๙๙๘) โดย นาตาชา วศินดิลก (๑๖) ข้อยกเว้นของหลักการรับฟัง (audi alteram partem) ในเรื่องที่เกี่ยวกับ "ความมั่นคงของรัฐ" (คดี R v. Secretary of State for Home Affairs, ex p. Hosenball (19977)) โดย ศศินา บุนนาค (๑๗) ข้อยกเว้นของหลักการรับฟัง (audi alteram partem) ในเรื่องที่เกี่ยวกับ "ข้อมูลที่เป็นความลับ" (คดี R. v. Gaming Board for Great Britain,exp. Benaim and Khaida (1970)) โดย ศศินา บุนนาค (๑๘) ข้อยกเว้นของหลักการรับฟัง (audi alteram partem) ในเรื่องที่เกี่ยว "สถานการณ์ฉุกเฉิน" (คดี R .v. Secretary of State for Transport, exp. Pegasus Holdings (London) Ltd. And Another (1988)) โดย ศศินา บุนนาค (๑๙) หลักความสมเหตุสมผล (Reasonableness) (คดี Associted Provincial Picture Houses Ltd. V. Wednesbury Corporation (1948)) โดย ศศินา บุนนาค (๒๐) ความผิดพลาดในการตีความข้อกฎหมาย (Error of Law in Construing the Scope of a Discretion) (คดี R.v. Vestry of St. Pancras (1890)) โดย ศศินา บุนนาค (๒๒) หน้าที่ในการให้เหตุผลในการออกคำสั่งทางปกครอง (คำพิพากษาของศาลปกครองสูงสุดฟินแลนด์ ที่ ๑๙๘๙ A๙๘ วันที่ ๒๙ ธันวาคม ค.ศ. ๑๙๘๙) โดย ยงยุทธ อนุกูล (๒๓) หลักการรับฟังผู้มีส่วนได้เสีย (คำพิพากษาของศาลปกครองสูงสุดฟินแลนด์ ที่ ๑๙๘๙ A๘๖ วันที่ ๒๒ ธันวาคม ค.ศ. ๑๙๘๙) โดย ยงยุทธ อนุกูล (๒๔) วิธีเยียวยาในกฎหมายปกครอง (คดี R v Immigration Appeal Tribunal,Ex Parte Alexander) โดย นาตาชา วศินดิลก (๒๕) หลักการฟังความทุกฝ่าย (audi alteram partem) (คดี Fisher v Keane (1878)) โดย นาตาชา วศินดิลก (๒๖) หลักการฟังความฝ่าย (audi alteram partem) (คดี Lawlor v Union of Post Office Workers (1965)) โดย นาตาชา วศินดิลก (๒๗) หลักการฟังความทุกฝ่าย (audi aiteram partem) (คดี Wood v Woad (1874)) โดย นาตาชา วศินดิลก (๑) ค่าเสียหายในงานโยธาสาธารณะ (คำพิพากษาศาลปกครองตูนีเซีย (ประชุมใหญ่) คดีเลขที่ ๑๒๙๒ ระหว่างกระทรวงที่อยู่อาศัย และนาย Abdelladif Ben Ali Etturki) โดย ดร.สุคนธา ศรีภิรมย์ บทที่ ๒ ความรับผิดของฝ่ายปกครอง (๒) ความรับผิดของรัฐ (คำพิพากษาศาลปกครองตูนีเซีย (ประชุมใหญ่) ๓๑ ธันวาคม ค.ศ. ๑๙๙๓ ระหว่างผู้แทนกระทรวงสาธารณสุขและนาย Amor EI HAFSI อุทธรณ์เลขที่ ๑๐๗๘) โดย ดร.สุคนธา ศรีภิรมย์ (๓) ความรับผิดอันเกิดจากการดำเนินการบริการสาธารณะทางด้านสุขภาพ (คำพิพากษาสภาแห่งรัฐเบลเยี่ยม ที่ ๔๑.๓๙๖ ลงวันที่ ๑๖ ธันวาคม ค.ศ. ๑๙๙๒ (คำฟ้องที่ A.๔๖.๒๕๐/VI-๑๐.๕๖๙)) โดย สุรีย์ เผ่าสุขถาวร (๔) ความรับผิดเนื่องจากความผิด (คำพิพากษาศาลปกครองชั้นต้นแห่งเมืองนีช (Nice) ลงวันที่ ๖ เมษายน ค.ศ. ๒๐๐๗ ระหว่าง Societe AXA FRANCE IARD กับ Prefet des Alpes Maritimes) โดย ดร.สุคนธา ศรีภิรมย์ (๑) สัญญาทางแพ่ง/สัญญาทางปกครอง (คดี UGAP คำพิพากษาสภาแห่งรัฐฝรั่งเศส ลงวันที่ ๓ พฤศจิกายน ค.ศ. ๒๐๐๓) โดย ยงยุทธ อนุกูล บทที่ ๒ สัญญาทางปกครอง (๒) องค์กรเอกชนได้รับมอบให้ดำเนินการบริการสาธารณะ (คดี Societes Sotrame et Metalform c/GIE SESAM-Vitale คำวินิจฉัยของศาลชี้ขาดเขตอำนาจระหว่างศาลฝรั่งเศส (Tribunal des conflits) ลงวันที่ ๒๓ กันยายน ค.ศ. ๒๐๐๒ โดย ยงยุทธ อนุกูล (๓) สถานะของสัญญาระหว่างการไฟฟ้ากับเทศบาลในฐานะผู้ให้สัมปทานและผู้ใช้บริการ (คดี Commune de Douai คำพิพากษาของศาลฎีกาฝรั่งเศส (Cour de Cassation) แผนกคดีแพ่ง ลงวันที่ ๖ มกราคม ค.ศ.๒๐๐๔) โดย ยงยุทธ อนุกูล (๔) สัญญาค้ำประกันการกู้ยืม (คำพิพากษาสภาแห่งรัฐฝรั่งเศส ลงวันที่ ๒๘ ตุลาคม ค.ศ. ๒๐๐๒ คดี Commune de Moisselles) โดย ยงยุทธ อนุกูล (๑) อำนาจดุลพินิจ หลักความเสมอภาคกับการสอบคัดเลือกเข้ารับราชการ (คำพิพากษาสภาแห่งรัฐฝรั่งเศส ลงวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ค.ศ. ๒๐๐๒ คดี Abbe BOUTEYRE,Rec.533, concl. Helbronner) โดย ดร.เจตน์ สถาวรศีลพร และสุภาวดี ชัยโยธา บทที่ ๔ คดีเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล (๒) ฝ่ายปกครองไม่อาจบังคับให้ข้าราชการไม่ต้องทำงาน (คำพิพากษาสภาแห่งรัฐฝรั่งเศส ลงวันที่ ๖ พฤศจิกายน ค.ศ. ๒๐๐๒ คดี M. Guisset) โดย ยงยุทธ อนุกูล และดาราพร นพเก้า (๓) การให้ข้าราชการกลับเข้ารับราชการ ต้องจัดให้เข้าสู่ตำแหน่งเดิมโดยมิอาจเปลี่ยนแปลงตำแหน่งหรือสังกัดโดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้เสียหาย (คำพิพากษาสภาแห่งรัฐฝรั่งเศส ลงวันที่ ๒๗ มีนาคม ค.ศ. ๑๙๔๙ม คดี Veron-Reville, Rec. Lebon, p. 246.) โดย ดร.ปิยะศาสตร์ ไขว้พันธุ์ (๔) บุคคลที่สามไม่มีสิทธิฟ้องคดีเกี่ยวกับการลงโทษทางวินับ (คดี Bellanger คำพิพากษาสภาแห่งรัฐฝรั่งเศส ลงวันที่ ๑๗ พฤษภาคม ค.ศ. ๒๐๐๖) โดย ยงยุทธ อนุกูล และดาราพร นพเก้า (๑) คำพิพากษาคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ทางปกครองแห่งออสเตรเลีย (AAT) คดีช้างไทย (คดี The International Fund for Animal Welfare (Australia) Pty Ltd & Ors and Minister for Environment and Heritage & Ors (2005); (2006)) โดย นาตาชา วศินดิลก บทที่ ๕ คดีเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม (๓) สิทธิของผู้ฟ้องคดีในคดีมลภาวะบริเวณทางรถไฟสายโอดาคิวเมืองโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น (Residents near Odakyu railway in Tokyo qualify as plaintiffs in a lawsuit) โดย ชาญวิทย์ ชัยกันย์ (๑) การใช้อำนาจของฝ่ายปกครองโดยบิดเบือนวัตถุประสงค์ขอกฎหมาย (Use of Power for an Improper Purpose) (คดี Municipal Council of Sydney v. Campbell (1925)) โดย ศศินา บุนนาค บทที่ ๖ คดีเกี่ยวกับการเวณคืนอสังหาริมทรัพย์ (๑) วิธีเยียวยาในกฎหมายปกครอง (คดี R v Electrity Commissioners, Ex Parte London Electricity Joint Committee Co. (1920)) โดย นาตาชา วศินดิลก บทที่ ๗ คดีเกี่ยวกับท้องถิ่น (๒) วิธีเยียวยาในกฎหมายปกครอง (คดี R v Poplar Borough Council, Ex Parte London County Council (No1); Same v Same,Ex Parte Metropolitan Asylums Board (No1) (1922)) โดย นาตาชา วศินดิลก บทที่ ๘ การรับรองการเสนอชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้ง (๑) การเลือกตั้ง (คดี R (on the application of de beer and others) v Returning Offcer for London Borough of Harrow 2002)) โดย นาตาชา วศินดิลก ภาค ๒ ภาควิธีสบัญญัติ (๑) สิทธิในการอ้างประโยชน์สาธารณะเพื่อสนับสนุนคำอุทธรณ์โต้แย้งคำสั่งทางปกครอง (คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดสวีเดน วันที่ ๑๗ ธันวาคม ค.ศ. ๑๙๙๓ โดย นาตาชา วศินดิลก บทที่ ๙ หลักเกณฑ์การฟ้องคดีปกครอง (๒) การโต้แย้งเรื่องจริยธรรมทางปกครองและการฟ้องคดีโดยกลุ่มบุคคล (คำพิพากษาสภาแห่งรัฐโคลัมเบีย เลขที่ AP-16 ลงวันที่ ๘ พฤศจิกายน ค.ศ. ๒๐๐๐ คดี Manule Jesus Bravo กับพวก) โดย ดร.ปิยะศาสตร์ ไขว้พันธุ์ (๔) ผู้มีสิทธิฟ้องคดีปกครอง (คดี Casanova คำพิพากษาสภาแห่งรัฐของฝรั่งเศส วันที่ ๒๙ มีนาคม ค.ศ. ๑๙๐๑) โดยยงยุทธ อนุกูล (๑) บทสันนิษฐานความรับผิดกับภาระพิสูจน์ (คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดโปรตุเกส องค์คณะที่ ๑ คดีเลขที่ ๓๖๔๖๓ โดย ยงยุทธ อนุกูล บทที่ ๑๐ การดำเนินกระบวนวิธีพิจารณาคดี (๑) เอกสารและมาตรการภายในฝ่ายปกครองไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนเสียหายแก่ฟ้องคดี (คำพิพากษาสภาแห่งรัฐฝรั่งเศส ลงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ค.ศ. ๑๙๕๙ม คดี ministre des affaires economiques et financiers c. Thrivaudey, Arrets fondamentaux du droit administrative, p 335.) โดย ดร.บุบผา อัครพิมาน บทที่ ๑๑ ผลของคำพิพากษา การอุทธรณ์ และการบังคับคดี (๒) อุทธรณ์โต้แย้งคำสั่งอนุญาตขายเบียร์ ไวน์ และสุรา (คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดแห่งประเทศสวีเดน ลงวันที่ ๒๔ มกราคม ค.ศ. ๑๙๙๒) โดย นาตาชา วศินดิลก (๓) คดีฟ้องขอให้เพิกถอนคำสั่งไม่ดำเนินการตามคำพิพากษาและไม่ชดไใช้ค่าเสียหาย (คดีเลขที่ ๑๗๖๗ คำพิพากษาสภาแห่งรัฐอียิปต์ ลงวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ค.ศ. ๑๙๙๒) โดย สุรีย์ เผ่าสุขถาวร (๔) ค่าเบี้ยปรับ (คำพิพากษาสภาแห่งรัฐฝรั่งเศส ลงวันที่ ๑๐ ตุลาคม ค.ศ. ๑๙๙๗ โดย ดร.สุคนธา ศรีภิรมย์ (๕) ทรัพย์สินของฝ่ายปกครอง (คำพิพากษาสภาแห่งรัฐผรั่งเศส ลงวันที่ ๙ ธันวาคม ค.ศ. ๑๘๙๙) โดย ดร.สุคนธา ศรีภิรมย์ ปกหลัง
|