สารบัญ:
|
ปกหน้า บทคัดย่อ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -ความเป็นมาและสภาพปัญหา -สมมติฐานการศึกษา -วัตถุประสงค์การศึกษา -ขอบเขตการศึกษา -วิธีการศึกษา -ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 กระบวนการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ -ความหมายของกระบวนการตราพระราชบัญญัติหรือพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ -ความหมายของพระราชบัญญัติ -ความหมายของพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ -การเสนอร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ -กระบวนการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญของสภาผู้แทนราษฎร --การบรรจุร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญเข้าระเบียบวาระการประชุมสภาผู้แทนราษฎร --การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญในวาระที่หนึ่ง --การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญในวาระที่สอง ---การพิจารณาในวาระที่สองโดยคณะกรรมาธิการที่สภาผู้แทนราษฎรตั้ง ---การพิจารณาในวาระที่สองสภาผู้แทนราษฎร ---การพิจารณาวาระที่สองโดยกรรมาธิการเต็มสภา --การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญในวาระที่สาม -กระบวนการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญของวุฒิสภา --การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญในวาระทีหนึ่ง --การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญในวาระที่สอง -การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาร --การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณของสภาผู้แทนราษฎร --การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณของวุฒิสภา บทที่ 3 คณะกรรมาธิการในกระบวนการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ -ลักษณะโดยทั่วไปของคณะกรรมาธิการ -กำหนดและวิวัฒนาการของคณะกรรมาธิการ -บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยในส่วนที่เกี่ยวกับเรื่องคณะกรรมาธิการ --รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ปรากำในมาตรา 189 --รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ปรากฏในมาตรา 175 --บทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ยังได้บัญญัติถึงคณะกรรมาธิการอีกสองลักษณะหรือสองประเภท ซึ่งยังไม่เคยปรากฏในรัฐธรรมนูญฉบับใดมาก่อน -ประเภทของคณะกรรมาธิการ --คณะกรรมาธิการสามัญประจำสภา --คณะกรรมาธิการวิสามัญ --คณะกรรมาธิการร่วมกัน --คณะกรรมาธิการเต็มสภา --คณะกรรมาธิการร่วมกันของรัฐสภา --คณะกรรมาธิการตามมาตรา 135 ของรัฐธรรมนูญ --คณะกรรมาธิการที่ไม่ได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการจากรัฐสภา -อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมาธิการ --พิจารณาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ --พิจารณาแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ --สอบสวนหรือศึกษาเรื่องใดๆ ที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของสภา --เรียกเอกสารหรือบุคคลมาแสดงความคิดเห็น --ตรวจสอบประวัติและความประพฤติของบุคคลผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่งตามรัฐธรรมนูญของวุฒิสภา --อำนาจหน้าที่ในการกระทำกิจการอื่น บทที่ 4 ปัญหาของกระบวนการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญของสภาผู้แทนราษฎร -ปัญหาของกระบวนการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญในวาระที่หนึ่ง -ปัญหาของกระบวนการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญในวาระที่สอง --ปัญหาเรื่องกำหนดระยะเวลาในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ --ปัญหาเรื่องการส่งร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญให้คณะกรรมาธิการสามัญประจำสภาผู้แทนราษฎรพิจารณา --ปัญหาเรื่องตัวควบคุมที่เป็นกรรมาธิการในคณะกรรมาธิการในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ --ปัญหาเรื่องการเรียกเอกสารและบุคคลของคณะกรรมาธิการในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ --ปัญหาเรื่องการรับฟังความเห็นสาธารณะของคณะกรรมาธิการในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ --ปัญหาเรื่องการรายงานและข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการสภาผู้แทนราษฎรในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ --ปัญหาเรื่องคณะผู้ช่วยเหลืองานในคณะกรรมาธิการในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ -ปัญหาของกระบวนการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญในวาระที่สาม --ปัญหาเรื่องการกำหนดระยะเวลาการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญในวาระที่สามหลังจากการที่พิจารณาในวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว บทที่ 5 บทสรุป และข้อเสนอแนะ -บทสรุป -ข้อเสนอแนะ --ปัญหาเรื่องการแถลงหลักการและเหตุผลประกอบการเสนอร่างพระราชบัญญัติของผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคน --เรื่องกำหนดระยะเวลาในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ --เรื่องการส่งร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญให้คณะกรรมาธิการสามัญประจำสภาผู้แทนราษฎรพิจารณา --เรื่องตัวบุคคลที่เป็นกรรมาธิการในคณะกรรมาธิการสภาผู้แทนราษฎรในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ --เรื่องการเรียกเอกสารและบุคคลของคณะกรรมาธิการสภาผู้แทนราษฎรในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ --เรื่องการรับฟังความเห็นสาธารณะของคณะกรรมาธิการสภาผู้แทนราษฎรในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ --เรื่องการรายงานและข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการสภาผู้แทนราษฎรในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ --เรื่องคณะผู้ช่วยเหลืองานในคณะกรรมาธิการสภาผู้แทนราษฎรในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ บรรณานุกรม ประวัติผู้เขียน ปกหลัง
|