สารบัญ:
|
ปกหน้า รายนามคณะกรรมาธิการการแรงงาน วุฒิสภา รายนามคณะอนุกรรมาธิการด้านการประกันสังคม รายงานการพิจารณาศึกษาเรื่อง ข้อเสนอเชิงนโยบายการพัฒนาระบบประกันสังคมไทย : "ก้าวสู่ประกันสังคมถ้วนหน้าด้วยประชารัฐ" ของคณะกรรมาธิการการแรงงาน วุฒิสภา -1. การดำเนินงาน -2. วิธีการพิจารณาศึกษา -3. ผลการพิจารณา บทสรุปผู้บริหาร สารบัญ สารบัญภาพ สารบัญตาราง บทที่ 1 บทนำ -1.1 สถานการณ์ -1.2 วัตถุประสงค์หลัก (General Objective) -1.3 วัตถุประสงค์เฉพาะในการศึกษา (Specific Objective) -1.4 คำถามการพิจารณาศึกษา (Research Questions) -1.5 วิธีการศึกษา (Research Methodology) -1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ (Significance of the Study) -1.7 กรอบแนวคิดในการศึกษา (Conceptual Framework) -1.8 นิยามศัพท์ในการพิจารณาศึกษา (Definition) บทที่ 2 วรรณกรรมและสถานการณ์ที่เกี่ยวข้อง -2.1 สถานการณ์แรงงานโลก -2.2 ความก้าวหน้าของการขยายความคุ้มครองด้วยระบบการประกันสังคมของประเทศไทย -2.3 องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) กับกฎหมายประกันสังคมไทย -2.4 การจำแนกกลุ่มอาชีพของคนทำงานในประเทศไทย -2.5 การวิจัยสหวิทยากรด้วย 9 กล่องกระบวนการสู่ผลสัมฤทธิ์ (9-Process Boxes Achievement Model : 9PBA) -2.6 ทฤษฎีการจัดการความรู้ (Knowledge Management) บทที่ 3 วิธีพิจารณาศึกษา : การดำเนินการด้วย 9 กล่องกระบวนการสู่ผลสัมฤทธิ์ -3.1 การกำหนดผลสัมฤทธิ์ -3.2 การประมวลข้อมูลและกำหนดประเด็นสำคัญ -3.3 การวิเคราะห์ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง -3.4 การวิเคราะห์สถานการณ์ -3.5 กฎหมายและนโยบายระดับสูง -3.6 การประเมินผู้มีส่วนร่วมและผลกระทบ -3.7 ความสัมพันธ์สอดคล้องกับหน่วยงานต่าง ๆ -3.8 โอกาสแห่งความสำเร็จ บทที่ 4 การสังเคราะห์ทางเลือกเชิงนโยบาย -กลุ่มที่ 1 นายจ้างในระบบการประกันสังคม -กลุ่มที่ 2 ลูกจ้างที่มีสัญญาจ้างแต่ไม่ได้ประกันตน เช่น พนักงานที่ทำงานชั่วคราว (Part-time) และกลุ่มลูกจ้างที่นายจ้างไม่ขึ้นทะเบียนตามกฎหมาย -กลุ่มที่ 3 ลูกจ้างในสัญญาเหมาช่วง (Sub-contract) -กลุ่มที่ 4 ลูกจ้างของบริษัทต่างประเทศที่เป็นแรงงานพลเมืองและไม่มีสถานประกอบกิจการในราชอาณาจักร -กลุ่มที่ 5 คนทำงานดิจิทัลภายใต้บริษัทแพลตฟอร์มรวมถึงผู้รับจ้างอิสระในอาชีพต่าง ๆ ข้อเสนอเชิงนโยบาย -กลุ่มที่ 6 แรงงานต่างชาติ -กลุ่มที่ 7 อาชีพที่กฎหมายกำหนดไม่ให้เข้าระบบการประกันสังคม -กลุ่มที่ 8 ผู้ฝึกงาน บทที่ 5 บทสรุป -5.1 สถานการณ์ของระบบการแรงงานของประเทศไทย สู่การวิเคราะห์และสังเคราะห์ทางเลือกเชิงนโยบายในการขยายความคุ้มครองของการประกันสังคมทั้งภาคบังคับและภาคสมัครใจ -5.2 การเสนอแนวทางแก้ปัญหาและอุปสรรคของการขยายความคุ้มครองถ้วนหน้าของระบบการประกันสังคม -5.3 แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรคในการคุ้มครองแรงงาน ด้วยระบบการประกันสังคมในภาพรวม -5.4 การเสนอแนวทางเพื่อการพัฒนากฎหมาย -5.5 มีการติดตามผลการดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามข้อเสนอเชิงนโยบายของรายงานการพิจารณาศึกษาเรื่องต่าง ๆ ที่ผ่านการให้ความเห็นชอบจากวุฒิสภาและส่งไปยังคณะมนตรีแล้ว -5.6 จัดให้เรื่องการแรงงานเป็นวาระแรงงานแห่งชำติ -5.7 พัฒนาขยายโครงสร้างและเพิ่มทรัพยากร -5.8 อาชีพเร่งด่วนที่ต้องเร่งทำขยายความคุ้มครอง -5.9 สร้างนวัตกรรมในการเก็บเงินสมทบและจ่ายประโยชน์ทดแทน -5.10 ระบบการประกันสังคมภาคสมัครใจ มาตรา 40 -5.11 พัฒนานโยบายและแนวทางการปฏิบัติในกรอบวิสัยทัศน์ "เสมอภาคพื้นฐาน แตกต่างอย่างเป็นธรรม" ดำเนินการตาม 8 หลักการหลักของ ILO บทสรุปส่งท้าย บรรณานุกรม ปกหลัง
|