สารบัญ:
|
บันทึกการประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ ครั้งที่ 67 วันอังคาร ที่ 19 มกราคม 2559 ณ ห้องประชุมงบประมาณ ชั้น 3 อาคารรัฐสภา 3 กรรมการผู้มาประชุม กรรมการผู้ไม่มาประชุม ผู้เข้าร่วมประชุม รับรองบันทึกการประชุม เรื่องพิจารณา -พิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุุุทธศักราช .... --หมวด 1 บททั่วไป ---ร่างมาตรา 1 ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียว จะแบ่งแยกไม่ได้ ---ร่างมาตรา 2 รูปแบบการปกครองของประเทศไทย ---ร่างมาตรา 3 อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชาวไทย ---ร่างมาตรา 4 ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง และปวงชนชาวไทยย่อมได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญนี้เสมอกัน ---ร่างมาตรา 5 รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ และกรณีไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้บังคับแก่กรณีใด --หมวด 2 พระมหากษัตริย์ ---ร่างมาตรา 6 องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้ ---ร่างมาตรา 7 พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพุทธมามกะ และทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก ---ร่างมาตรา 8 พระมหากษัตริย์ทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย ---ร่างมาตรา 9 พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะสถาปนาและถอดถอนฐานันดรศักดิ์และพระราชทานและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ---ร่างมาตรา 10 ที่มา องค์ประกอบ และหน้าที่ของคณะองคมนตรี ---ร่างมาตรา 11 การเลือกและแต่งตั้งหรือการให้องคมนตรีพ้นจากตำแหน่ง ---ร่างมาตรา 12 ลักษณะต้องห้ามขององคมนตรี ---ร่างมาตรา 13 การถวายสัตย์ปฏิญาณขององคมนตรี ---ร่างมาตรา 14 การพ้นจากตำแหน่งขององมนตรี ---ร่างมตรา 15 การแต่งตั้งและการให้ข้าราชการในพระองค์พ้นจากตำแหน่ง ---ร่างมาตรา 16 การแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ---ร่างมาตรา 17 กรณีที่พระมหากษัตริย์มิได้ทรงแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ---ร่างมาตรา 18 ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์เป็นการชั่วคราว ---ร่างมาตรา 19 การปฏิญาณตนของผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ---ร่างมาตรา 20 การสืบราชสมบัติ ---ร่างมาตรา 21 การอัญเชิญพระรัชทายาทขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ ---ร่างมาตรา 22 หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการ ในระหว่างที่ยังไม่มีประกาศอัญเชิญองค์พระรัชทายาทหรือองค์ผู้สืบราชสันตติวงศ์ขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัริย์ ----ร่างมาตรา 23 การปฏิบัติหน้าที่ขององคมนตรี ---ร่างมาตรา 24 การถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์ ---ร่างมาตรา 25 สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย ---ร่างมาตรา 26 การตรากฎหมายที่มีผลเป็นการจำกัดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคล ---ร่างมาตรา 27 บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมาย ---ร่างมาตรา 28 สิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย ---ร่างมาตรา 29 หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการดำเนินคดีอาญาต่อบุคคล ---ร่างมาตรา 30 การเกณฑ์แรงงานจะกระทำมิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ---ร่างมาตรา 31 เสรีภาพในการถือศาสนา ---ร่างมาตรา 32 สิทธิ ในความเป็นอยู่ส่วนตัว เกียรติยศ ชื่อเสียงและครอบครัว ---ร่างมาตรา 33 เสรีภาพของบุคคลในเคหสถาน ---ร่างมาตรา 34 เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น ---ร่างมาตรา 35 เสรีภาพในการเสนอข่าวสารหรือการแสดงความคิดเห็นตามจริยธรรมแห่งวิชาชีพของบุคคลซึ่งประกอบวิชาชีพสื่อมวลชน ---ร่างมาตรา 36 เสรีภาพในการติดต่อสื่อสาร ---ร่างมาตรา 37 สิทธิในทรัพย์สินและการสืบมรดก ---ร่างมาตรา 38 เสรีภาพในการเดินทางและการเลือกถิ่นที่อยู่ ---ร่างมาตรา 39 การให้ความคุ้มครองบุคคลผู้มีสัญชาติไทย ---ร่างมาตรา 40 เสรีภาพในการประกอบอาชีพ ---ร่างมาตรา 41 สิทธิเข้าถึงข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะ ---ร่างมาตรา 42 สิทธิของเด็กที่จะได้รับความคุ้มครองให้ปราศจากการใช้ความรุนแรง ---ร่างมาตรา 43 รัฐต้องเปิดเผยข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะในครอบครองของหน่วยงานของรัฐ ---ร่างมาตรา 44 เสรีภาพในการรวมกันเป็นสมาคม สหกรณ์ สหภาพ องค์กร ชุมชนหรือหมู่คณะอื่น ---ร่างมาตรา 45 สิทธิในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู หรือส่งเสริมจารีตประเพณี ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ---ร่างมาตรา 46 รัฐต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนที่เกี่ยวข้องก่อนการดำเนินการใด ๆ ---ร่างมาตรา 47 เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ ---ร่างมาตรา 48 เสรีภาพในการรวมกันจัดตั้งพรรคการเมือง ---ร่างมาตรา 48/1 สิทธิพิทักษ์รัฐธรรมนูญ (ห้ามบุคคลใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข) ---ร่างมาตรา 48/2 สิทธิพิทักษ์รัฐธรรมนูญ (ห้ามบุคคลใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข) ---ร่างมาตรา 49 หน้าที่ของปวงชนชาวไทย ---ร่างมาตรา 50 สิทธิของประชาชนและชุมชนที่จะติดตามและเร่งรัดดำเนินการ รวมตลอดทั้งฟ้องร้องหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง ---ร่างมาตรา 51 รัฐต้องพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ เอกราช อธิปไตยฯ ---ร่างมาตรา 52 รัฐต้องดูแลให้มีการปฏิบัติตามและบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด ---ร่างมาตรา 53 รัฐต้องดำเนินการให้การศึกษาแก่เด็กโดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายและสนับสนุนการศึกษาให้แก่ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ ---ร่างมาตรา 54 รัฐต้องดำเนินการจัดให้มีบริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพแก่ประชาชนอย่างทั่วถึง ---ร่างมาตรา 55 รัฐต้องจัดหรือดำเนินการให้มีสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของประชาชนอย่างทั่วถึง ---ร่างมาตรา 56 ร้องต้องอนุรักษ์ คุ้มครอง บำรุงรักษา ฟื้นฟู บริหารจัดการ และใช้หรือจัดให้มีการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีภาพ ---ร่างมาตรา 57 รัฐต้องดำเนินการให้มีการศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนหรือชุมชน ---ร่างมาตรา 57/1 รัฐต้องเปิดเผยข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะในครอบครองของหน่วยงานของรัฐ ---ร่างมาตรา 57/2 รัฐต้องเปิดเผยข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะในครอบครองของหน่วยงานของรัฐ ---ร่างมาตรา 58 รัฐต้องจัดให้มีมาตรการหรือกลไกในการคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภค ---ร่างมาตรา 59 รัฐต้องรักษาวินัยการเงินการคลัง ---ร่างมาตรา 60 รัฐต้องส่งเสริม สนับสนุน และให้ความรู้แก่ประชาชนถึงอันตรายที่เกิดจากการทุจริตและประพฤติมิชอบ -เรื่องอื่น ๆ
|