สารบัญ:
|
บันทึกการประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ ครั้งที่ 115 วันจันทร์ ที่ 28 มีนาคม 2559 ณ ห้องประชุมงบประมาณ ชั้น 3 อาคารรัฐสภา 3 กรรมการผู้มาประชุม ผู้เข้าร่วมประชุม รับรองบันทึกการประชุม เรื่องพิจารณา -พิจารณาร่างรัฐธรรมนูญที่ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมแล้วก่อนส่งคณะรัฐมนตรี และสภานิติบัญญัติแห่งชาติทราบ -คำปรารภรัฐธรรมนูญ -ร่างมาตรา 3 อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย -ร่างมาตรา 5 รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ และกรณีไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้บังคับ แก่กรณีใด -ร่างมาตรา 17 กรณีที่พระมหากษัตริย์มิได้ทรงแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ -ร่างมาตรา 19 การปฏิญาณตนของผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ -ร่างมาตรา 20 การสืบราชสมบัติ -ร่างมาตรา 21 การอัญเชิญพระรัชทายาทขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ -ร่างมาตรา 26 วรรคหนึ่ง การตรากฎหมายที่มีผลเป็นการจำกัดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคล -ร่างมาตรา 35 เสรีภาพในการเสนอข่าวสารหรือการแสดงความคิดเห็นตามจริยธรรมแห่งวิชาชีพของบุคคลซึ่งประกอบวิชาชีพสื่อมวลชน -ร่างมาตรา 37 สิทธิในทรัพย์สินและการสืบมรดก -ร่างมาตรา 38 เสรีภาพในการเดินทางและการเลือกถิ่นที่อยู่ -ร่างมาตรา 45 เสรีภาพในการรวมกันในการจัดตั้งพรรคการเมือง -ร่างมาตรา 46 สิทธิของผู้บริโภคย่อมได้รับความคุ้มครอง -ร่างมาตรา 50 หน้าที่ของปวงชนชาวไทย -ร่างมาตรา 54 รัฐต้องดำเนินการให้การศึกษาแก่เด็กโดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายและสนับสนุนทุนการศึกษาให้แก่ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ -ร่างมาตรา 55 รัฐต้องดำเนินการจัดให้มีบริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพแก่ประชาชนอย่างทั่วถึง -ร่างมาตรา 58 บุคคลและชุมชนย่อมมีสิทธิได้รับข้อมูล คำชี้แจง และเหตุผลจากหน่วยงานของรัฐก่อนการดำเนินการหรืออนุญาต -ร่างมาตรา 59 รัฐต้องเปิดเผยข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะในครอบครองของหน่วยงานของรัฐ -ร่างมาตรา 60 รัฐต้องรักษาไว้ซึ่งคลื่นความถี่และสิทธิในการเข้าใช้วงโคจรดาวเทียมอันเป็นสมบัติของชาติ -ร่างมาตรา 62 รัฐต้องรักษาวินัยการเงินการคลัง -ร่างมาตรา 65 ยุทธศาสตร์ชาติ -ร่างมาตรา 71 การเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว -ร่างมาตรา 76 การพัฒนาระบบการบริหารราชการแผ่นดิน -ร่างมาตรา 80 ประธานรัฐสภา รองประธานรัฐสภา ผู้ทำหน้าที่แทนประธานรัฐสภา หน้าที่และอำนาจของ ประธานรัฐสภาและรองประธานรัฐสภา -ร่างมาตรา 82 การร้องขอให้วินิจฉัยว่าสมาชิกภาพของสมาชิกคนใดคนหนึ่งแห่งสภานั้นสิ้นสุดลงหรือไม่ -ร่างมาตรา 85 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง -ร่างมาตรา 90 หลักเกณฑ์ในการส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ -ร่างมาตรา 92 เขตเลือกตั้งใดไม่มีผู้สมัครรับเลือกตั้งรายใดได้รับคะแนนเสียงเลือกตั้งมากกว่าคะแนนเสียงที่ไม่เลือกผู้ใด มิให้นับคะแนนที่ผู้สมัครรับเลือกตั้งแต่ละคนได้รับไปใช้ในการคำนวณ -ร่างมาตรา 101 เหตุแห่งการสิ้นสุดสมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร -ร่างมาตรา 106 ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร -ร่างมาตรา 107 องค์ประกอบของวุฒิสภา ที่มาของสมาชิกวุฒิสภา -ร่างมาตรา 116 การแต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานและรองประธานวุฒิสภา -ร่างมาตรา 119 หน้าที่และอำนาจดำเนินกิจการของสภาของประธานสภาผู้แทนราษฎรและประธานวุฒิสภา -ร่างมาตรา 121 การเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรก สมัยประชุมของรัฐสภา -ร่างมาตรา 126 กรณียกเว้นให้มีการประชุมวุฒิสภาได้ในระหว่างที่ไม่มีสภาผู้แทนราษฎร -ร่างมาตรา 127 การประชุมสภาผู้แทนราษฎร การประชุมวุฒิสภา การประขุมร่วมกันของรัฐสภา การประชุมลับ -ร่างมาตรา 132 การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ -ร่างมาตรา 135 การแก้ไขเพิ่มเติมทำให้ร่างพระราชบัญญัติมีลักษณะเป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน -ร่างมาตรา 138 ร่างพระราชบัญญัติที่ถูกยับยั้ง -ร่างมาตรา 142 การเสนอร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ -ร่างมาตรา 143 การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา -ร่างมาตรา 144 ข้อห้ามในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณ มาตรการป้องกันและลงโทษผู้กระทำผิดข้อห้ามดังกล่าว -ร่างมาตรา 150 การตั้งกระทู้ถามรัฐมนตรี -ร่างมาตรา 170 เหตุที่ทำให้ความเป็นรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเฉพาะตัว -ร่างมาตรา 195 ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง -ร่างมาตรา 202 ลักษณะต้องห้ามของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ -ร่างมาตรา 203 องค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ -ร่างมาตรา 204 การให้ความเห็นชอบผู้ได้รับการคัดเลือกหรือสรรหาเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งตุลาการ ศาลรัฐธรรมนูญ -ร่างมาตรา 205 การแสดงหลักฐานการลาออกหรือเลิกประกอบวิชาชีพของผู้ได้รับความเห็นชอบจากวุฒิสภาให้เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ -ร่างมาตรา 206 การเลือกประธานศาลรัฐธรรมนูญ -ร่างมาตรา 214 เงื่อนไข และกระบวนการการแต่งตั้งผู้ทำหน้าที่เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญเป็นการชั่วคราว -ร่างมาตรา 219 มาตรฐานทางจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระ -ร่างมาตรา 224 หน้าที่และอำนาจของคณะกรรมการการเลือกตั้ง -ร่างมาตรา 226 อำนาจของคณะกรรมการการเลือกตั้งในการยื่นคำร้องต่อศาลฎีกาเพื่อสั่งเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง หรือเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งของผู้สมัครรับเลือกตั้งหรือผู้สมัครรับเลือก -ร่างมาตรา 230 หน้าที่และอำนาจของผู้ตรวจการแผ่นดิน -ร่างมาตรา 234 หน้าที่และอำนาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. -ร่างมาตรา 235 การดำเนินการกรณีที่ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ หรือ ผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระ ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ถูกกล่าวหาว่ามีพฤติการณ์ร่ำรวยผิดปกติ ทุจริตต่อหน้าที่ จงใจใช้หน้าที่และอำนาจขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย หรือฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง การพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญและศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง -ร่างมาตรา 237 การดำเนินการของคณะผู้ไต่สวนอิสระ -ร่างมาตรา 256 หลักเกณฑ์และวิธีการของการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ -ร่างมาตรา 258 การดำเนินการปฏิรูปประเทศ -ร่างมาตรา 260 องค์ประกอบคณะกรรมการปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับหน้าที่ อำนาจ และภารกิจของตำรวจ -ร่างมาตรา 263 สภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่รัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา -ร่างมาตรา 264 การปฏิบัติหน้าที่ต่อไปของคณะรัฐมนตรี -ร่างมาตรา 267 การปฏิบัติหน้าที่ต่อไปของคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ และกระบวนการจัดทำ ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ -ร่างมาตรา 269 กระบวนการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภาในวาระเริ่มแรก -ร่างมาตรา 270 การติดตามการดำเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศ และกระบวนการตรากฎหมายตามหมวด 16 การปฏิรูปประเทศ -ร่างมาตรา 271 การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่วุฒิสภาหรือสภาผู้แทนราษฎรยับยั้ง ให้กระทำโดย ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาในวาระเริ่มแรก -ร่างมาตรา 277 ระยะเวลาการเสนอกฎหมายตามมาตรา 196 มาตรา 198 และมาตรา 248 วรรคสาม ของคณะรัฐมนตรีต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ -ร่างมาตรา 278 ระยะเวลาการจัดทำร่างกฎหมายที่จำเป็นตามมาตรา 58 มาตรา 62 และมาตรา 63 -ร่างมาตรา 279 การรับรองความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของประกาศ คำสั่ง และการกระทำของ คณะรักษาความสงบแห่งชาติหรือของหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เรื่องอื่น ๆ ที่ประชุมมีมติให้นัดประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญครั้งต่อไปในวันอังคาร ที่ 29 มีนาคม 2559 เวลา 11.00 นาฬิกา ณ ห้องประชุมงบประมาณ ชั้น 3 อาคารรัฐสภา 3
|