สารบัญ:
|
บันทึกการประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ ครั้งที่ 112 วันพฤหัสบดี ที่ 24 มีนาคม 2559 ณ โรงแรมอิมพีเรียล หัวหิน บีช รีสอร์ท จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กรรมการผู้มาประชุม ผู้เข้าร่วมประชุม รับรองบันทึกการประชุม เรื่องพิจารณา -พิจารณาร่างรัฐธรรมนูญที่ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมแล้วก่อนส่งคณะรัฐมนตรี และสภานิติบัญญัติแห่งชาติทราบ --ร่างหมวด 1 บททั่วไป ---ร่างมาตรา 1 ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียว จะแบ่งแยกไม่ได้ ---ร่างมาตรา 2 ระบอบการปกครองของประเทศไทย ---ร่างมาตรา 3 อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชาวไทย ---ร่างมาตรา 4 ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง และปวงชนชาวไทยย่อมได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญนี้เสมอกัน --หมวด 2 พระมหากษัตริย์ ---ร่างมาตรา 5 รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ และกรณีไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้บังคับ แก่กรณีใด ---ร่างมาตรา 6 องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้ ---ร่างมาตรา 7 พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพุทธมามกะ และทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก ---ร่างมาตรา 8 พระมหากษัตริย์ทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย ---ร่างมาตรา 9 พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะสถาปนาและถอดถอนฐานันดรศักดิ์และพระราชทานและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ---ร่างมาตรา 10 ที่มา องค์ประกอบ และหน้าที่ขององคมนตรี ---ร่างมาตรา 11 การเลือกและแต่งตั้งหรือการให้องคมนตรีพ้นจากตำแหน่ง ---ร่างมาตรา 12 ลักษณะต้องห้ามขององคมนตรี ---ร่างมาตรา 13 การถวายสัตย์ปฏิญาณขององคมนตรี ---ร่างมาตรา 14 การพ้นจากตำแหน่งขององคมนตรี ---ร่างมาตรา 15 การแต่งตั้งและการให้ข้าราชการในพระองค์พ้นจากตำแหน่ง ---ร่างมาตรา 16 การแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ---ร่างมาตรา 17 กรณีที่พระมหากษัตริย์มิได้ทรงแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ---ร่างมาตรา 18 ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์เป็นการชั่วคราว ---ร่างมาตรา 19 การปฏิญาณตนของผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ---ร่างมาตรา 20 การสืบราชสมบัติ ---ร่างมาตรา 21 การอัญเชิญพระรัชทายาทขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ ---ร่างมาตรา 22 หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการ ในระหว่างที่ยังไม่มีประกาศอัญเชิญองค์พระรัชทายาทหรือองค์ผู้สืบราชสันตติวงศ์ขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ ---ร่างมาตรา 23 การปฏิบัติหน้าที่ขององคมนตรี ---ร่างมาตรา 24 การถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์ --หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย ---ร่างมาตรา 25 สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย ---ร่างมาตรา 26 การตรากฎหมายที่มีผลเป็นการจำกัดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคล ---ร่างมาตรา 27 บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมาย ---ร่างมาตรา 28 สิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย ---ร่างมาตรา 29 หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการดำเนินคดีอาญาต่อบุคคล ---ร่างมาตรา 30 การเกณฑ์แรงงานจะกระทำมิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ---ร่างมาตรา 31 เสรีภาพในการถือศาสนา ---ร่างมาตรา 32 สิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว เกียรติยศ ชื่อเสียง และครอบครัว ---ร่างมาตรา 33 เสรีภาพของบุคคลในเคหสถาน ---ร่างมาตรา 34 เสรีภาพในการแสดงความเห็น ---ร่างมาตรา 35 เสรีภาพในการเสนอข่าวสารหรือการแสดงความคิดเห็นตามจริยธรรมแห่งวิชาชีพของบุคคลซึ่งประกอบวิชาชีพสื่อมวลชน ---ร่างมาตรา 36 เสรีภาพในการติดต่อสื่อสาร ---ร่างมาตรา 37 สิทธิในทรัพย์สินและการสืบมรดก ---ร่างมาตรา 38 เสรีภาพในการเดินทางและการเลือกถิ่นที่อยู่ ---ร่างมาตรา 39 การให้ความคุ้มครองบุคคลผู้มีสัญชาติไทย ---ร่างมาตรา 40 เสรีภาพในการประกอบอาชีพ ---ร่างมาตรา 41 สิทธิของบุคคลและชุมชน ---ร่างมาตรา 42 เสรีภาพในการรวมกันเป็นสมาคมสหกรณ์ สหภาพ องค์กร ชุมชนหรือหมู่คณะอื่น ---ร่างมาตรา 43 สิทธิของบุคคลและชุมชน ---ร่างมาตรา 44 เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ ---ร่างมาตรา 45 เสรีภาพในการรวมกันในการจัดตั้งพรรคการเมือง ---ร่างมาตรา 46 วรรคหนึ่ง สิทธิของผู้บริโภค ---ร่างมาตรา 47 สิทธิได้รับการป้องกันและขจัดโรคติดต่ออันตราย และสิทธิของผู้ยากไร้ที่จะได้รับบริการสาธารณสุขของรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ---ร่างมาตรา 48 สิทธิของมารดาในช่วงระหว่างก่อนและหลังการคลอดบุตร ---ร่างมาตรา 49 สิทธิพิทักษ์รัฐธรรมนูญ (ห้ามบุคคลใช้สิทธิหรีอเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข) --หมวด 4 หน้าที่ของปวงชนชาวไทย ---ร่างมาตรา 50 หน้าที่ของปวงชนชาวไทย --หมวด 5 หน้าที่ของรัฐ ---ร่างมาตรา 51 สิทธิของประชาชนและชุมชนที่จะติดตามและเร่งรัดให้รัฐดำเนินการ รวมตลอดทั้งฟ้องร้องหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง ---ร่างมาตรา 52 รัฐต้องพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ เอกราช อธิปไตยฯ ---ร่างมาตรา 53 รัฐต้องดูแลให้มีการปฏิบัติตามและบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด ---ร่างมาตรา 54 รัฐต้องดำเนินการให้การศึกษาแก่เด็กโดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายและสนับสนุนทุนการศึกษาให้แก่ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ ---ร่างมาตรา 55 รัฐต้องดำเนินการจัดให้มีบริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพแก่ประชาชนอย่างทั่วถึง ---ร่างมาตรา 56 รัฐต้องจัดหรือดำเนินการให้มีสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของประชาชนอย่างทั่วถึง ---ร่างมาตรา 57 รัฐต้องอนุรักษ์ ฟื้นฟู และส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมและจารีตประเพณีอันดีงามของท้องถิ่นและของชาติ ---ร่างมาตรา 58 รัฐต้องดำเนินการให้มีการศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนหรือชุมชน ---ร่างมาตรา 59 รัฐต้องเปิดเผยข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะในครอบครองของหน่วยงานของรัฐ ---ร่างมาตรา 60 รัฐต้องรักษาไว้ซึ่งคลื่นความถี่และสิทธิในการเข้าใช้วงโคจรดาวเทียมอันเป็นสมบัติของชาติ ---ร่างมาตรา 61 รัฐต้องจัดให้มีมาตรการหรือกลไกในการคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภค ---ร่างมาตรา 62 รัฐต้องรักษาวินัยการเงินการคลัง ---ร่างมาตรา 63 รัฐต้องส่งเสริม สนับสนุน และให้ความรู้แก่ประชาชนถึงอันตรายที่เกิดจากการทุจริตและประพฤติมิชอบ --หมวด 6 แนวนโยบายแห่งรัฐ ---ร่างมาตรา 64 แนวทางในการดำเนินการตรากฎหมายและกำหนดนโยบายในการบริหารราชการแผ่นดิน ---ร่างมาตรา 65 ยุทธศาสตร์ชาติ ---ร่างมาตรา 66 การเจริญสัมพันธ์ไมตรีกับนานาประเทศและให้ความร่วมมือกับองค์การระหว่างประเทศ ---ร่างมาตรา 67 การอุปถัมภ์และคุ้มครองศาสนา ---ร่างมาตรา 68 การจัดระบบการบริหารงานในกระบวนการยุติธรรม ---ร่างมาตรา 69 การจัดให้มีและส่งเสริมการวิจัยพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโยลีและศิลปะวิทยาการแขนงต่างๆ ---ร่างมาตรา 70 การส่งเสริมและให้ความคุ้มครองชาวไทยกลุ่มชาติพันธุ์ ---ร่างมาตรา 71 การเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว ---ร่างมาตรา 72 การดำเนินการเกี่ยวกับที่ดิน ทรัพยากรน้ำ และพลังงาน ---ร่างมาตรา 73 การจัดให้มีมาตรการหรือกลไกที่ทำให้เกษตรกรประกอบเกษตรกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ---ร่างมาตรา 74 การส่งเสริมให้ประชาชนมีความสามารถในการทำงานอย่างเหมาะสม ---ร่างมาตรา 75 การจัดระบบเศรษฐกิจ ---ร่างมาตรา 76 การพัฒนาระบบการบริหารราชการแผ่นดิน ---ร่างมาตรา 77 การจัดให้มีกฎหมายเพียงเท่าที่จำเป็น การจัดให้มีการรับฟ้งความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้องก่อนการตรากฎหมายทุกฉบับ การใช้ระบบอนุญาตและระบบคณะกรรมการในกฎหมาย เฉพาะกรณีที่จำเป็น ---ร่างมาตรา 78 การส่งเสริมให้ประชาชนและชุมชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศด้านต่าง ๆ --หมวด 7 รัฐสภา ---ส่วนที่ 1 บททั่วไป ----ร่างมาตรา 79 องค์ประกอบของรัฐสภา การประชุมของรัฐสภา ----ร่างมาตรา 80 ประธานรัฐสภา รองประธานรัฐสภา ผู้ทำหน้าที่แทนประธานรัฐสภา หน้าที่และอำนาจของ ประธานรัฐสภาและรองประธานรัฐสภา ---ส่วนที่ 2 สภาผู้แทนราษฎร ----ร่างมาตรา 81 การตรากฎหมาย ----ร่างมาตรา 82 การร้องขอให้วินิจฉัยว่าสมาชิกภาพของสมาชิกคนใดคนหนึ่งแห่งสภานั้นสิ้นสุดลงหรือไม่ ----ร่างมาตรา 83 องค์ประกอบของสภาผู้แทนราษฎร ----ร่างมาตรา 84 การเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรก ----ร่างมาตรา 85 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง ----ร่างมาตรา 86 การกำหนดจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่แต่ละจังหวัดจะพึงมีและการแบ่งเขตเลือกตั้ง ----ร่างมาตรา 87 หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการสมัครฯ การถอนการสมัครฯ หรือเปลี่ยนแปลงผู้สมัครฯ ----ร่างมาตรา 88 หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในกรณีบุคคลดังกล่าวหรือพรรคการเมืองจะถอนหรือเปลี่ยนแปลง บุคคลดังกล่าว ----ร่างมาตรา 89 หลักเกณฑ์ในการเสนอชื่อบุคคลเพื่อพิจารณาแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีของพรรคการเมือง ----ร่างมาตรา 90 หลักเกณฑ์ในการส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ----ร่างมาตรา 91 หลักเกณฑ์ในการคำนวณหาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของแต่ละพรรคการเมือง ----ร่างมาตรา 92 การจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่ ----ร่างมาตรา 93 การคำนวณจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่พรรคการเมืองจะพึงมี ----ร่างมาตรา 94 การคำนวณสัดส่วนคะแนนของพรรคการเมือง กรณีมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบแบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ ----ร่างมาตรา 95 คุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ----ร่างมาตรา 96 ลักษณะต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิเลือกตั้ง ----ร่างมาตรา 97 คุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ----ร่างมาตรา 98 ลักษณะต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ----ร่างมาตรา 99 อายุของสภาผู้แทนราษฎร การห้ามควบรวมพรรคการเมืองที่มีสมาชิกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ----ร่างมาตรา 100 สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเริ่มตั้งแต่วันเลือกตั้ง ----ร่างมาตรา 101 เหตุแห่งการสิ้นสุดสมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ----ร่างมาตรา 102 การกำหนดวันเลือกตั้งทั่วไป ----ร่างมาตรา 103 การยุบสภาผู้แทนราษฎร ----ร่างมาตรา 104 กรณีมีเหตุจำเป็นอันมิอาจหลีกเลี่ยงได้ เป็นเหตุให้ไม่สามารถจัดการเลือกตั้งตามวันที่ ประกาศกำหนด ----ร่างมาตรา 105 การดำเนินการเมื่อตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรว่างลง ----ร่างมาตรา 106 ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ---ส่วนที่ 3 วุฒิสภา ----ร่างมาตรา 107 องค์ประกอบของวุฒิสภา ที่มาของสมาชิกวุฒิสภา ----ร่างมาตรา 108 คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของสมาชิกวุฒิสภา ----ร่างมาตรา 109 อายุของวุฒิสภา วันเริ่มต้นสมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภา ----ร่างมาตรา 110 การเลือกสมาชิกวุฒิสภาใหม่ ----ร่างมาตรา 111 การสิ้นสุดสมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภา ----ร่างมาตรา 112 ข้อห้ามและข้อยกเว้นการเข้ารับตำแหน่งใดของผู้เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกวุฒิสภามาแล้วยังไม่เกินสองปี ----ร่างมาตรา 113 สมาชิกวุฒิสภาต้องไม่ฝักใฝ่หรือยอมตนอยู่ใต้อาณัติของพรรคการเมืองใด ๆ ---ส่วนที่ 4 บทที่ใช้แก่สภาทั้งสอง ----ร่างมาตรา 114 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาเป็นผู้แทนปวงชนชาวไทย ----ร่างมาตรา 115 การปฏิญาณตนก่อนเข้ารับหน้าที่ในที่ประชุมแห่งสภาที่ตนเป็นสมาชิก ----ร่างมาตรา 116 การแต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานและรองประธานวุฒิสภา ----ร่างมาตรา 117 วาระการดำรงตำแหน่งของประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานและรองประธานวุฒิสภา ----ร่างมาตรา 118 การพันจากตำแหน่งก่อนวาระของประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานและรองประธานวุฒิสภา ----ร่างมาตรา 119 หน้าที่และอำนาจดำเนินกิจการของสภาของประธานสภาผู้แทนราษฎรและประธานวุฒิสภา ----ร่างมาตรา 120 องค์ประชุมของสภาผู้แทนราษฎร องค์ประชุมของวุฒิสภา การออกเสียงลงคะแนน ----ร่างมาตรา 121 การเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรก สมัยประชุมของรัฐสภา ----ร่างมาตรา 122 รัฐพิธีเปิดประชุมรัฐสภาครั้งแรก ----ร่างมาตรา 123 การร้องขอให้เรียกประชุมรัฐสภาสมัยวิสามัญ ----ร่างมาตรา 124 เอกสิทธิ์ของสมาชิกรัฐสภา ----ร่างมาตรา 125 ห้ามมิให้จับ คุมขัง หรือหมายเรียกตัวสมาชิกรัฐสภาในระหว่างสมัยประชุม ----ร่างมาตรา 126 กรณียกเว้นให้มีการประชุมวุฒิสภาได้ในระหว่างที่ไม่มีสภาผู้แทนราษฎร ----ร่างมาตรา 127 การประชุมสภาผู้แทนราษฎร การประชุมวุฒิสภา การประขุมร่วมกันของรัฐสภา การประชุมลับ ----ร่างมาตรา 128 การตราข้อบังคับการประชุม การตราข้อบังคับเกี่ยวกับประมวลจริยธรรมของสมาชิกและ กรรมาธิการ ----ร่างมาตรา 129 การตั้งคณะกรรมาธิการสามัญ คณะกรรมาธิการวิสามัญ คณะกรรมาธิการร่วมกัน ----ร่างมาตรา 130 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ----ร่างมาตรา 131 การเสนอร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ----ร่างมาตรา 132 การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ เรื่องอื่น ๆ ที่ประชุมมีมติให้นัดประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญครั้งต่อไปในวันอังคาร ที่ 25 มีนาคม 2559 เวลา 09.00 นาฬิกา ณ โรงแรมอิมพีเรียล หัวหิน บีช รีสอร์ท จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
|