สารบัญ:
|
ปก บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนำ -1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -2. วัตถุประสงค์การศึกษา -3. วิธีดำเนินการศึกษา -4. นิยามศัพท์เฉพาะ -5. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง -1. แนวคิดเกี่ยวกับการแปรญัตติ -2. ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2562 -3. ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. 2562 -4. กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง --4.1 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 --4.2 พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499 --4.3 พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 -5. ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ -แผนภาพที่ 1 ปัจจัยที่ควรพิจารณาในการลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ -6. การเรียนรู้ด้วยตนเอง -7. แผนยุทธศาสตร์สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร บทที่ 3 วิธีการศึกษา -1. วิธีการศึกษา --1.1 ขอบเขตด้านเนื้อหา --1.2 ประเด็นการศึกษา --1.3 ขอบเขตด้านพื้นที่ -2. ผู้ให้ข้อมูลหลัก -3. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา --3.1 การรวบรวมข้อมูล --3.2 การสร้างแบบสอบถาม/สัมภาษณ์ -4. การเก็บรวบรวมข้อมูล --4.1 การศึกษาข้อมูลจากเอกสาร --4.2 การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ -5. การวิเคราะห์ข้อมูล -6. ระยะเวลาในการศึกษา -7. กรอบแนวคิดในการศึกษา -แผนภาพที่ 2 กรอบแนวคิดการศึกษา บทที่ 4 ผลการศึกษา -การศึกษาเชิงเอกสาร --1. แนวคิดเกี่ยวกับการแปรญัตติ --2. ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2562 --3. ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. 2562 --4. กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง --5. บทความเกี่ยวกับการลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ --6. การเรียนรู้ด้วยตนเอง --7. แผนยุทธศาสตร์สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร -การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง --1. ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและข้าราชการรัฐสภาสามัญ -ตารางที่ 1 แสดง เพศ อายุ และระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง -ตารางที่ 2 แสดงประสบการณ์ในกระบวนการแปรญัตติร่างกฎหมาย --2. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเสนอคำแปรญัตติ การถอนคำแปรญัตติ และการสงวนคำแปรญัตติร่างกฎหมาย -ตารางที่ 3 ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเสนอคำแปรญัตติ -ตารางที่ 4 ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการถอนคำแปรญัตติ --3. ปัญหาเกี่ยวกับการเสนอคำแปรญัตติ การถอนคำแปรญัตติ และการสงวนคำแปรญัตติร่างกฎหมาย -ตารางที่ 5 ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสงวนคำแปรญัตติ -ตารางที่ 6 ปัญหาเกี่ยวกับการเสนอคำแปรญัตติ -ตารางที่ 7 ปัญหาเกี่ยวกับการถอนคำแปรญัตติ -ตารางที่ 8 ปัญหาเกี่ยวกับการสงวนคำแปรญัตติ --4. ความคิดเห็นของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและข้าราชการรัฐสภาสามัญเกี่ยวกับการเสนอคำแปรญัตติ การถอนคำแปรญัตติ และการสงวนคำแปรญัตติร่างกฎหมายของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ -ตารางที่ 9 ความคิดเห็นของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและข้าราชการรัฐสภาสามัญเกี่ยวกับการเสนอคำแปรญัตติร่างกฎหมายของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ -ตารางที่ 10 ความคิดเห็นของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและข้าราชการรัฐสภาสามัญเกี่ยวกับการถอนคำแปรญัตติร่างกฎหมายของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ -ตารางที่ 11 ความคิดเห็นของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและข้าราชการรัฐสภาสามัญเกี่ยวกับการสงวนคำแปรญัตติร่างกฎหมายของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ -ตารางที่ 12 ความคิดเห็นของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและข้าราชการรัฐสภาสามัญเกี่ยวกับการเสนอคำแปรญัตติ การถอนคำแปรญัตติ และการสงวนคำแปรญัตติร่างกฎหมายของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ -ตารางที่ 13 ความคิดเห็นของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและข้าราชการรัฐสภาสามัญเกี่ยวกับการเสนอคำแปรญัตติ การถอนคำแปรญัตติ และการสงวนคำแปรญัตติร่างกฎหมายของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ควรใช้ระบบใดระบบหนึ่ง หรือควบคู่ บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา อภิปรายผลการศึกษา และข้อเสนอแนะ -สรุปผลการศึกษา --การศึกษาเชิงเอกสาร --การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ---1. ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและข้าราชการรัฐสภาสามัญ ---2. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเสนอคำแปรญัตติ การถอนคำแปรญัตติ และการสงวนคำแปรญัตติร่างกฎหมาย ---3. ปัญหาเกี่ยวกับการเสนอคำแปรญัตติ การถอนคำแปรญัตติ และการสงวนคำแปรญัตติร่างกฎหมาย ---4. ความคิดเห็นของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและข้าราชการรัฐสภาสามัญเกี่ยวกับการเสนอคำแปรญัตติ การถอนคำแปรญัตติ และการสงวนคำแปรญัตติร่างกฎหมายของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ -อภิปรายผล --1. การศึกษาเชิงเอกสาร --2. การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง --3. ปัญหาเกี่ยวกับการเสนอคำแปรญัตติ การถอนคำแปรญัตติ และการสงวนคำแปรญัตติร่างกฎหมาย --4. ความคิดเห็นของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและข้าราชการรัฐสภาสามัญเกี่ยวกับการเสนอคำแปรญัตติ การถอนคำแปรญัตติ และการสงวนคำแปรญัตติร่างกฎหมายของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ --5. อภิปรายผลสรุปการยื่นคำแปรญัตติ การถอนคำแปรญัตติ และการสงวนคำแปรญัตติร่างกฎหมายของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ จากการศึกษาเชิงเอกสาร และการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง -ข้อเสนอแนะ -แผนภาพที่ 3 ตัวอย่างการลงทะเบียนอิเล็กทรอนิกส์ -แผนภาพที่ 4 ตัวอย่างการลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ของผู้รับรอง บรรณานุกรม ประวัติผู้ศึกษา
|