สารบัญ:
|
ปก บำนาญแห่งชาติกับสิทธิประโยชน์ในยามเกษียณ[อัญชลี จวงจันทร์] บทคัดย่อ บทนำ ระบบบำเหน็จบำนาญของไทยมีประเภทของรายได้ 3 ประเภท คือ -1. ข้าราชการ/พนักงานองค์กรของรัฐ ได้แก่ บำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนบำเหน็จ -2. เอกชนในระบบ ได้แก่ กองทุนประกันสังคม (มาตรา 33) กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนสงเคราะห์กระทรวงศึกษาธิการ -3. เอกชนนอกระบบ ได้แก่ กองทุนประกันสังคม (มาตรา 39,40) กองทุนการออมแห่งชาติ สาระสำคัญทางกฎหมายของบำนาญแห่งชาติ แนวทางเรื่องบำนาญในประเทศไทย ปัญหาบำนาญกับผู้สูงอายุ งานวิจัยและบทความทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง -ประเด็นแรก การออกแบบระบบการจัดการรายได้ยามชราของภาครัฐ -ประเด็นที่สอง สาเหตุความไม่เพียงพอ --1. ระบบรายได้ผู้สูงอายุของประเทศไทยทุกระบบ ไม่ได้มีแนวคิดเกี่ยวกับมูลค่าของเงินที่ลดลงเมื่อเวลาผ่านไป --2. ระบบต่าง ๆ ของไทยยังไม่ได้คำนึงถึงการกระจายรายได้มากนัก แนวคิดเรื่องนี้จะชัดเจนในระบบของต่างประเทศ -ประเด็นที่สาม ควรปรับเปลี่ยนกฎเกณฑ์อีกหลายข้อของระบบประกันสังคมภาคบังคับ เพื่อให้ตัวระบบมีความยั่งยืนทางการคลัง -ประเด็นที่สี่ การปรับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุขึ้นน่าจะเป็นวิธีที่ช่วยครัวเรือนสูงวัยที่ยากจนในรุ่นปัจจุบันได้ทันการณ์ที่สุด บทสรุปและข้อเสนอแนะ -บทสรุป -ข้อเสนอแนะ --1. ในการจัดทำแผน นโยบาย และแนวทางการพัฒนาระบบบำเหน็จบำนาญ ควรครอบคลุมผู้สูงอายุทุกลุ่มอย่างเพียงพอและยั่งยืน --2. ควรมีการรวบรวมข้อเสนอแนะและแผนงานที่เกี่ยวกับระบบบำเหน็จบำนาญจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง --3. การบรรเทาปัญหาทางการเงินแก่ลูกจ้างที่มีความจำเป็น กองทุนบำเหน็จบำนาญมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อสร้างวินัยในการออมของประชาชน
|