สารบัญ:
|
ปกหน้า คำนำ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -1.2 วัตถุประสงค์ -1.3 วิธีการดำเนินการ -1.4 ขอบเขตการศึกษา -1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ -1.6 นิยามศัพท์ที่ใข้ไนการศึกษา บทที่ 2 หลักวิชาการและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง -2.1 หลักพื้นฐานของอำนาจอธิปไตย --2.1.1 แนวคิดทฤษฎีว่าด้วยอำนาจอธิปไตย (Sovereignty) --2.1.2 แนวคิดทฤษฎีการแบ่งแยกอำนาจ (Separation of Powers) ---2.1.2.1 สาระสำคัญของหลักการแยกอำนาจ ---2.1.2.2 ระบบการปกครองตามหลักการแบ่งแยกอำนาจ --2.1.3 หลักการถ่วงดุลและคานอำนาจ (Check and Balance) ---2.1.3.1 การถ่วงดุลอำนาจนิติบัญญัติ ---2.1.3.2 การถ่วงดุลอำนาจบริหาร ---2.1.3.3 การถ่วงดุลอำนาจตุลาการ -2.2 แนวคิดทฤษฎีอำนาจสูงสุดเป็นของรัฐสภา (The Supremacy Parliament) -2.3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับสภาพบังคับทางกฎหมายของคำสั่งเรียกของคณะกรรมาธิการ --2.3.1 แนวคิดทฤษฎีอำนาจลงโทษโดยรัฐสภา (Power of House to Punish Offenders) --2.3.2 แนวคิดทฤษฎีอำนาจลงโทษโดยศาล (Punishments of Offenders By Courts) -2.4 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับระบบคณะกรรมาธิการของรัฐสภาต่างประเทศ --2.4.1 อำนาจในการสืบสวน และระบบคณะกรรมาธิการของอังกฤษ ---2.4.1.1 ระบบคณะกรรมาธิการอังกฤษ ---2.4.1.2 ประเภทของคณะกรรมาธิการ ---2.4.1.3 การปฏิบัติไม่ชอบของพยานหรือการขัดขวางพยาน และการไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของสภา ---2.4.1.4 สภาพบังคับทางกฎหมายที่เป็นประเพณีของรัฐสภาของอังกฤษ ---2.4.1.5 สภาพบังคับทางกฎหมายที่เป็นกฎหมายลายลักษณ์อักษรของอังกฤษ --2.4.2 อำนาจการสืบสวนสอบสวน และระบบคณะกรรมาธิการของสหรัฐอเมริกา ---2.4.2.1 ระบบคณะกรรมาธิการสหรัฐอเมริกา ---2.4.2.2 ประเภทของคณะกรรมาธิการ ---2.4.2.3 สภาพบังคับทางกฎหมายในการออกคำสั่งของคณะกรรมาธิการ -2.5 กฎหมายที่ให้คณะกรรมาธิการสามารถออกคำสั่งเรียก --2.5.1 กฎหมายคำสั่งเรียกของคณะกรรมาธิการของอังกฤษ --2.5.2 กฎหมายคำสั่งเรียกของคณะกรรมาธิการของสหรัฐอเมริกา ---2.5.2.1 กฎหมายว่าด้วยการออกคำสั่งเพื่อดำเนินการสืบสวนของสภาคองเกรส ---2.5.2.2 คณะกรรมาธิการที่มีอำนาจในการออกคำสั่งเรียก ---2.5.2.3 กระบวนการสืบสวนและกระบวนการในการออกคำสั่ง ---2.5.2.4 บุคคลผู้ได้รับหมายเรียก ---2.5.2.5 สภาพบังคับเมื่อไม่ปฏิบัติตามคำสั่งเรียก บทที่ 3 ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติหน้าที่ฝ่ายเลขานุการตามพระราชบัญญัติคำสั่งเรียกของคณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา พ.ศ. 2554 ในคณะกรรมาธิการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ -3.1 กระบวนการควบคุมตรวจสอบการใช้อำนาจฝ่ายบริหารโดยกลไกของคณะกรรมาธิการ -3.2 กระบวนการและหลักเกณฑ์ทั่วไปก่อนเข้าสู่กระบวนออกคำสั่งเรียกของคณะกรรมาธิการ --3.2.1 คณะกรรมาธิการผู้มีอำนาจ --3.2.2 ที่มาของการใช้อำนาจ --3.2.3 องค์ประชุมของคณะกรรมาธิการ --3.2.4 มติของคณะกรรมาธิการให้มีคำสั่งเรียกบุคคลใด หรือขอให้เรียกจัดส่งเอกสารจากบุคคลใดผู้ครอบครองเอกสารต่อคณะกรรมาธิการ --3.2.5 ขอบเขตและข้อจำกัดของอำนาจออกคำสั่งเรียก -3.3 ขั้นตอนการบังคับใช้พระราชบัญญัติคำสั่งเรียกของคณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา พ.ศ. 2554 ในคณะกรรมาธิการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ บทที่ 4 บทวิเคราะห์การดำเนินงานของคณะกรรมาธิการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ -4.1 การวิเคราะห์และประเมินการบังคับใช้พระราชบัญญัติคำสั่งเรียกของคณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา พ.ศ. 2554 ในคณะกรรมาธิการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบโดยอาศัยเครื่องมือ SWOT Analysis -4.2 บทวิเคราะห์ --4.2.1 ด้านอำนาจหน้าที่ --4.2.2 ด้านการปฏิบัติงาน --4.2.3 ด้านบุคลากร -4.3 ผลสำเร็จของงาน บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ -5.1 บทสรุป --5.1.1 ความซํ้าซ้อนของการใช้อำนาจออกคำสั่งเรียกของคณะกรรมาธิการสภาผู้แทนราษฎร ---5.1.2 การกำหนดขอบเขตการใช้อำนาจหน้าที่ของคณะอนุกรรมาธิการ ---5.1.3 การมีมติออกคำสั่งเรียกของคณะกรรมาธิการ สภาผู้แทนราษฎร ---5.1.4 กรณีรัฐมนตรีซึ่งบังคับบัญชาหรือกำกับดูแลหน่วยงานที่บุคคลนั้นสังกัด "ไม่ได้มีคำสั่ง'''' หรือ ''''เพิกเฉยไม่สั่ง"โดยมีเจตนาที่จะมิให้มีการดำเนินการตามหนังสือเรียกของคณะกรรมาธิการ หรือ "สั่งไม่ให้ข้าราชการผู้นั้น" ดำเนินการตามหนังสือเรียกของคณะกรรมาธิการ ---5.1.5 เจ้าหน้าที่ฝ่ายเลขานุการประจำคณะกรรมาธิการตามพระราชบัญญัติคำสั่งเรียกของคณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา พ.ศ. 2554 -5.2 ข้อเสนอแนะ --5.2.1 ข้อเสนอแนะจากการปฏิบัติงาน --5.2.2 ข้อเสนอแนะในเชิงนโยบาย บรรณานุกรม ภาคผนวก -ภาคผนวก ก พระราชบัญญัติคำสั่งเรียกของคณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา พ.ศ. 2554 -ภาคผนวก ข ระเบียบรัฐสภาว่าด้วยหลักเกณฑ์และขั้นตอนการจัดส่งหนังสือและคำสั่งเรียกของคณะกรรมาธิการ พ.ศ. 2554 --- รูปแบบหนังสือขอให้ส่งเอกสาร --- รูปแบบหนังสือเชิญให้ไปแถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความเห็นต่อคณะกรรมาธิการ --- รูปแบบคำสั่งเรียก -ภาคผนวก ค ระเบียบรัฐสภาว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางของผู้มาแถลงข้อเท็จหรือแสดงความเห็นต่อคณะกรรมาธิการ พ.ศ. 2554 -ภาคผนวก ง ระเบียบสภาผู้แทนราษฎรว่าด้วยการพิจารณาสอบสวนหรือศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยคณะกรรมาธิการหลายคณะ พ.ศ. 2552 ปกหลัง
|