สารบัญ:
|
ปก บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญแผนภาพ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -1.2 วัตถุประสงค์การศึกษา -1.3 สมมติฐานการศึกษา -1.4 แนวทางการศึกษา -1.5 ระเบียบวิธีการศึกษา -1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ -1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง -2.1 แนวคิดการปฏิวัติอุตสาหกรรม ครั้งที่ 4 -แผนภาพที่ 1 แนวคิดทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง -ตารางที่ 1 สรุปเปรียบเทียบระหว่างระบบราชการแบบเดิมและระบบราชการแบบใหม่ -2.2 แนวคิดการบริหารองค์กร (Core Activities of Management) -แผนภาพที่ 2 กิจกรรมหลักในการจัดการ -แผนภาพที่ 3 ระบบการวางแผน -แผนภาพที่ 4 วงจรของกระบวนการ -2.3 แนวคิดว่าด้วยการบริหารโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ -2.4 ทฤษฎีวงล้อเดมมิ่ง (PDCA Cycle) -2.5 การปฏิบัติหน้าที่เพื่อสนับสนุนภารกิจให้กับคณะกรรมาธิการ บทที่ 3 วิธีการศึกษา -3.1 วิธีการศึกษา -3.2 ขอบเขตการศึกษา -ตารางที่ 2 แสดงการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง -3.3 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา -ตารางที่ 3 ค่าความพึงพอใจต่อแนวทางการศึกษารูปแบบการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพดำเนินภารกิจของคณะกรรมาธิการ -ตารางที่ 4 ระดับการแปลค่าความพึงพอใจ -3.4 การวิเคราะห์ข้อมูล -3.5 ระยะเวลาในการศึกษา -3.6 กรอบแนวคิดในการศึกษา -แผนภาพที่ 5 กรอบแนวคิดในการศึกษา บทที่ 4 ผลการศึกษา -4.1 สมมติฐานในการศึกษารูปแบบการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ฯ -ตารางที่ 5 แสดงจำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล -ตารางที่ 6 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับภาพรวมความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินภารกิจของคณะกรรมาธิการ -ตารางที่ 7 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับด้านการประชุม -ตารางที่ 8 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับด้านการสัมมนา -ตารางที่ 9 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับด้านการศึกษาดูงานในต่างประเทศ -ตารางที่ 10 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับด้านการศึกษาดูงานในประเทศ -ตารางที่ 11 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลส่งผลต่อความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินภารกิจของคณะกรรมาธิการ จำแนกตามเพศ -ตารางที่ 12 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลส่งผลต่อความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินภารกิจของคณะกรรมาธิการ จำแนกตามอายุ -ตารางที่ 13 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลส่งผลต่อความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินภารกิจของคณะกรรมาธิการ จำแนกตามการศึกษา -ตารางที่ 14 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลส่งผลต่อความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินภารกิจของคณะกรรมาธิการ จำแนกตามระยะเวลาที่ปฏิบัติงาน --สรุปผลการทดสอบสมมติฐานในการศึกษา -ตารางที่ 15 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลส่งผลต่อความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินภารกิจของคณะกรรมาธิการ จำแนกตามตำแหน่ง -4.2 ผลการสัมภาษณ์ -4.3 การศึกษารูปแบบการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการสนับสนุนภารกิจของคณะกรรมาธิการ -4.4 วิเคราะห์ภาพรวมปัญหาการสนับสนุนการดำเนินภารกิจของกคณะกรรมาธิการ -4.5 สภาพปัญหาที่พบในการดำเนินภารกิจของกรรมาธิการ -4.5 สภาพปัญหาที่พบในการดำเนินภารกิจของกรรมาธิการ -4.6 รูปแบบการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในปฏิบัติภารกิจของคณะกรรมาธิการ -แผนภาพที่ 6 ตารางภาพ รูปแบบการประชุมคณะกรรมาธิการโดยการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินภารกิจของคณะกรรมาธิการ -แผนภาพที่ 7 ขั้นตอนการจัดเอกสารการประชุมของคณะกรรมาธิการด้วยระบบเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินภารกิจของคณะกรรมาธิการ -4.7 สรุปรูปแบบการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินภารกิจของคณะกรรมาธิการ -4.8 ขั้นตอนการจัดเอกสารวิชาการประกอบการประชุมและการดำเนินภารกิจของคณะกรรมาธิการด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล 5 ขั้นตอน -4.9 การลดขั้นตอนโดยการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดทำข้อมูลและการเก็บไฟล์ข้อมูลโดยใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ Google Drive / line Application -แผนภาพที่ 8 การเก็บข้อมูลในระบบเซ็นเตอร์ไดร์ฟ (Google Drive) -4.10 กลุ่มเป้าหมายและการเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินภารกิจของคณะกรรมาธิการ -แผนภาพที่ 9 ขั้นตอนการเผยแพร่รูปแบบการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินภารกิจของคณะกรรมาธิการ บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ -5.1 สรุปผลการศึกษา -5.2 อภิปรายผล -5.3 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผู้ศึกษา
|