สารบัญ:
|
ปก บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง บทที่ 1 บทนำ -1. ที่มาและความสำคัญของการศึกษา -2. วัตถุประสงค์ของการศึกษา -3. ขอบเขตของการศึกษา -4. วิธีดำเนินการการศึกษา -5. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง -1. แนวคิด ทฤษฎี และหลักกฎหมายที่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน --1.1 แนวคิด ที่มาของสิทธิมนุษยชน --1.2 สิทธิมนุษยชนในยุคปัจจุบัน --1.3 หลักการของสิทธิมนุษยชน --1.4 ประเภทและมิติของสิทธิมนุษยชน ---1.4.1 ประเภทของสิทธิมนุษยชน ---1.4.2 มิติของสิทธิมนุษยชน --1.5 หน้าที่ของรัฐที่ผูกพันตามกฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิมนุษยชน --1.6 หลักการตรวจสอบและประเมินผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน --1.7 ตราสารระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ---1.7.1 ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ---1.7.2 พันธกรณีระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคี ---1.7.3 พันธกรณีระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยไม่เป็นภาคี ---1.7.4 ข้อมูลเบื้องต้นของพันธกรณีระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิมนุษยชน -2. กฎหมายและกฎ ระเบียบของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรที่เกี่ยวข้องกับหลักสิทธิมนุษยชน --2.1 พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554 ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับหลักสิทธิมนุษยชน --2.2 กฎ ระเบียบที่ออกตามความในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554 ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับหลักสิทธิมนูษยชน บทที่ 3 วิธีการศึกษา -วิธีการศึกษา บทที่ 4 ผลการศึกษา -1. กฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิมนุษยชน --1.1 หลักการของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน --1.2 การแจกแจงและเปรียบเทียบระหว่างปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนกับพันธกรณีระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิมนุษยชน -1. การเปรียบเทียบกฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิมนุษยชน --1.3 การรับรองสิทธิมนุษยชนในการทำงาน -2. สิทธิมนุษยชนกับกฎ ระเบียบของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร --2.1 การพิจารณะสิทธิมนุษยชนกรณีสิทธิในการทำงาน ---2.1.1 การทำงานและเลือกงานโดยอิสรเสรี ในเงื่อนไขที่ยุติธรรมและเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ---2.1.2 สิทธิในการได้รับค่าจ้างและค่าตอบแทนที่ยุติธรรมและเท่าเทียมกัน สำหรับงานที่มีคุณค่าเท่ากัน ---2.1.3 โอกาสเท่าเทียมกันที่จะได้รับการส่งเสริมให้มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน โดยไม่ขึ้นอยู่กับข้อพิจารณาใดนอกจากอาวุโสและความสามารถ ---2.1.4 การมีสภาพการทำงานที่น่าพึงพอใจ ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ---2.1.5 สิทธิในการพักผ่อนและการผ่อนคลายยามว่าง มีเวลางานที่เหมาะสม จำกัดเวลาทำงานตามสมควร มีวันหยุดพักผ่อนโดยได้รับค่าตอบแทน ตลอดจนค่าตอบแทนสำหรับวันหยุดทางการ ---2.1.6 สิทธิที่จะจัดตั้งและเข้าร่วมสหภาพแรงงานเพื่อความคุ้มครองผลประโยชน์ของตน --2.2 การพิจารณาสิทธิมนุษชนอื่นๆ ---2.2.1 สิทธิมนุษยชนด้านสตรี ---2.2.2 สิทธิมนุษยชนของคนพิการ ---2.2.3 การกำหนดอายุขั้นต่ำในการเข้ารับราชการ ---2.2.4 การดำเนินการทางวินัย -2. เปรียบเทียบสิทธิมนุษยชนในการทำงานตามพันธกรณีระหว่างประเทศกับกฎ ระเบียบของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา และข้อเสนอแนะ -1. สรุปผลการศึกษา --1.1 กฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิมนุษยชน --1.2 สิทธิมนุษยชนกับกฎ ระเบียบของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร -2. ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ประวัติผู้ศึกษา
|