สารบัญ:
|
ปก บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญแผนภาพ บทที่ 1 บทนำ -1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -2. วัตถุประสงค์การศึกษา -3. ขอบเขตการศึกษา -4. วิธีการศึกษา -5. นิยามศัพท์ -6. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และหลักวิชาการที่เกี่ยวข้อง -1. แนวคิดกับรัฐธรรมนูญ -2. หลักความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ (The Supremacy of the Constitution) -3. ทฤษฎีว่าด้วยอำนาจแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ -4. การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญในต่างประเทศ --4.1 สหรัฐอเมริกา --4.2 สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี --4.3 ราชอาณาจักรสเปน --4.4 ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ --4.5 สาธารณรัฐฝรั่งเศส บทที่ 3 วิธีการศึกษา -1. ขอบเขตการศึกษา -2. วิธีการศึกษา -3. ระยะเวลาในการศึกษา -4. กรอบแนวคิดในการศึกษา -แผนภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการศึกษา บทที่ 4 การวิเคราะห์กระบวนการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 -1. ข้อห้ามมิให้เสนอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ -2. ผู้มีสิทธิเสนอญัตติแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ -3. ผู้พิจารณา -4. การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่ง -5. การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สอง -6. ระยะเวลาที่รอการพิจารณาก่อนลงมติในวาระที่สาม -7. การออกเสียงลงลงคะแนนในวาระที่สาม -8. การออกเสียงประชามติ -9. การตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ -10. การเปรียบเทียบกระบวนการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับในอดีตที่ผ่านมา -ตารางที่ 1 ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับในอดีตที่ผ่านมาที่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ -11. ผลการศึกษากระบวนการแก้ไขเพิ่มเติมตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ -1. บทสรุป -2. ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ประวัติผู้ศึกษา
|