สารบัญ:
|
ปกหน้า กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ สารบัญ สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ที่มาและความสำคัญของปัญหา -1.2 สมมติฐาน -1.3 วัตถุประสงค์ของการศึกษา -1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ -1.5 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง --1.5.1 งานศึกษาวรรณกรรมไทยในบริบทการเมืองเสื้อเหลือง-เสื้อแดง --1.5.2 งานศึกษาวรรณกรรมของนักเขียนอีสานในเชิงปัจเจก --1.5.3 งานศึกษานักเขียนอีสานในลักษณะเป็นกลุ่ม -1.6 ขอบเขตและวิธีการศึกษา -1.7 วิธีการวิจัย บทที่ 2 ความคิดทางการเมืองของนักเขียนอีสานยุคหลัง พคท. จนถึงก่อนทศวรรษ 2530 -2.1 บริบททางสังคมการเมือง และวรรณกรรมยุคหลังพคท. จนถึงทศวรรษ 2530 -2.2 ความคิดทางการเมืองของประเสริฐ จันดำ หมู่บ้านยากจน รัฐละทิ้ง และการถูกคุกคามด้วยความทันสมัยจากเมือง -2.3 ความคิดทางการเมืองของสมคิด สิงสง หมู่บ้านกำลังถูกคุกคามจาก "ความเจริญ" -2.4 สรุป บทที่ 3 ความคิดทางการเมืองของนักเขียนอีสาน ในบริษัทกระแสความคิดวัฒนธรรมชุมชน และขบวนการภาคประชาชน 2530-2540 -3.1 บริบทสังคมการเมืองและงานวรรณกรรม ทศวรรษ 2530-2550 -3.2 ความคิดทางการเมืองของไพวรินทร์ ขาวงาม การต่อต้านความเป็นเมือง และเสนอทิ้งถิ่นนิยม --3.2.1 การต่อต้านความเป็นเมือง -3.2.2 ท้องถิ่นนิยม -ภาพที่ 3.1 ปกหนังสือม้าก้านกล้วย พิมพ์ครั้งแรก พ.ศ. 2538 -ภาพที่ 3.2 ปกหนังสือม้าก้านกล้วย พิมพ์ครั้งที่ 14 พ.ศ. 2540 -ภาพที่ 3.3 ปกหนังสือม้าก้านกล้วย พิมพ์ครั้งที่ 17 พ.ศ. 2542 -3.3 ความคิดทางการเมืองของสนั่น ชูสกุล -3.3.1 ต่อต้านการพัฒนาจากส่วนกลาง และเสนอการเมืองบนท้องถนน -3.4 สรุป บทที่ 4 ความคิดทางการเมืองของนักเขียนอีสาน ทศวรรษ 2540-2550 ในบริบทของโลกาภิวัตน์และการต่อต้านความทันสมัย -4.1 บริบททางสังคมการเมือง และงานวรรณกรรมของนักเรียน ในบริบทของโลกาภิวัตน์และการต่อต้านความทันสมัย -4.2 ความคิดทางการเมืองของมาโนช พรหมสิงห์ การต่อต้านโลกาภิวัฒน์ผ่านประเพณีวัฒนธรรม -4.3 ความคิดทางการเมืองของวีระ สุดสังข์ --4.3.1 วิพากษ์ความทันสมัย และเสนอคนต้นแบบของหมู่บ้าน -4.4 ความคิดทางการเมืองของสมคิด สิงสง เศรษฐกิจพอเพียงคือคำตอบในการต่อต้านโลกาวัตน์ -4.5 สรุป บทที่ 5 ความคิดทางการเมืองของนักเรียนอีสานภายใต้บริบทของการเมืองไทยทศวรรษ 2550-2560 -5.1 บริบทสังคมการเมือง และงานวรรณกรรมของนักเขียนอีสาน ภายใต้บริบทของการเมืองไทยทศวรรษ 2550-2560 -5.2 การนิยม "อีสาน" ใหม่โดยนักเขียนนิตยสารทางอีศาน --5.2.1 การนำเสนอประเด็น "วัฒนธรรมท้องถิ่น" ในนิตยสารทางอีศาน -5.3 การนิยาม "อีสาน" ใหม่ โดยนิตยสารทางชายคาเรื่องสั้น และ นักเขียนอีสาน ภู กระดาษ --5.3.1 การนำเสนอเหตุการณ์การสลายการชุมชนของคนเสื้อแดงในนิตยสารชายคาเรื่องสั้น -5.4 ความคิดทางการเมืองของ ภู กระดาษ --5.4.1 นิยายเนรเทศ การวิพากษ์ประวัติศาสตร์การเมืองแบบเผด็จการ และนำเสนอเรื่องเล่าจากมุมมองของไทยบ้านอีสาน --5.4.2 ทหารลาดตระเวน สัญลักษณ์ของการโฆษณาชวนเชื่อจากรัฐไทย --5.4.3 คนเสื้อแดง ในงานวรรณกรรมของภู กระดาษ -5.5 สรุป บทที่ 6 บทสรุป บรรณานุกรม ประวัติผู้เขียน
|