สารบัญ:
|
ปก บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ที่มาและความสำคัญของการศึกษา -1.2 วัตถุประสงค์การศึกษา -1.3 แนวทางการศึกษา --1.3.1 ขอบเขตด้านเนื้อหา --1.3.2 กลุ่มตัวอย่างในการศึกษา --1.3.3 ระยะเวลาในการศึกษา -1.4 ระเบียบวิธีการศึกษา -1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 หน้าที่และอำนาจของวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และหน้าที่และอำนาจของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ -2.1 หน้าที่และอำนาจของวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย --2.1.1 หน้าที่และอำนาจเกี่ยวกับกระบวนการตรากฎหมาย --2.1.2 หน้าที่และอำนาจเกี่ยวกับการควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน --2.1.3 หน้าที่และอำนาจในการให้ความเห็นชอบบุคคลดำรงตำแหน่งใดตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ และให้คำแนะนำในการแต่งตั้งบุคคลตามที่กฎหมายกำหนด --2.1.4 หน้าที่และอำนาจเกี่ยวกับการปฏิรูปประเทศ -2.2 หน้าที่และอำนาจเกี่ยวกับกระบวนการพิจารณากฎหมาย --2.2.1 ประเภทของกฎหมาย --2.2.2 ผู้เสนอกฎหมาย --2.2.3 กระบวนการและขั้นตอนในการพิจารณา/กลั่นกรองกฎหมาย ---ก ขั้นการรับร่างพระราชบัญญัติไว้พิจารณา ---ข ขั้นการพิจารณาเรียงตามลำดับมาตรา ----ก การพิจารณาโดยคณะกรรมาธิการเต็มสภา ----ข การตั้งคณะกรรมาธิการ/การมอบหมายคณะกรรมาธิการเพื่อพิจารณา ----ค การพิจารณาและการเสนอผลการพิจารณาของคณะกรรมาธิการ ----ง การพิจารณาว่าเห็นชอบ ไม่เห็นชอบ แก้ไขเพิ่มเติม ----จ กระบวนการดำเนินการกรณีที่วุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติม -2.3 ความเชื่อมโยงในกระบวนการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา -2.4 แนวทางการดำเนินการตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 77 ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการพิจารณากฎหมาย --2.4.1 แนวทางการรับฟังความคิดเห็นประกอบการจัดทำร่างกฎหมายและการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขั้นจากกฎหมายตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 77 --2.4.2 แนวทางการปฏิบัติของฝ่ายนิติบัญญัติตามบทบัญญัติมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 -2.5 การวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากร่างกฎหมายของต่างประเทศ -2.6 บทบาทของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาในการรองรับภารกิจของวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญ --2.6.1 โครงสร้างสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา --2.6.2 อำนาจหน้าที่ของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา --2.6.3 อำนาจหน้าที่ของสำนักที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 --2.6.4 แผนยุทธศาสตร์สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา -2.7 แนวทางการดำเนินการของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาในการรองรับการพิจารณากฎหมาย --2.7.1 ขั้นตอนก่อนวุฒิสภาจะรับร่างพระราชบัญญัติ --2.7.2 ขั้นตอนเมื่อวุฒิสภาได้รับร่างพระราชบัญญัติจากสภาผู้แทนราษฎร --2.7.3 ขั้นตอนเมื่อวุฒิสภาลงมติเห็นชอบด้วยหรือไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร หรือแก้ไขเพิ่ม บทที่ 3 วิธีการศึกษา -3.1 กรอบแนวคิดในการศึกษา -3.2 วิธีการศึกษา -3.3 การวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 4 ผลการศึกษา -4.1 การวิเคราะห์กระบวนการตรากฎหมาย เป้าหมายและวัตถุประสงค์ในกระบวนการตรากฎหมายตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 77 วรรคสอง --4.1.1 กระบวนการตรากฎหมาย --4.1.2 เป้าหมายและวัตถุประสงค์ในกระบวนการตรากฎหมายตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 77 วรรคสอง -4.2 การวิเคราะห์สภาพปัจจุบันในการสนับสนุนภารกิจการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ --4.2.1 ภารกิจของหน่วยงานระดับสำนักที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ ---ก) ก่อนการพิจารณาในวาระที่หนึ่ง ขั้นรับร่างพระราชบัญญัติ ---ข) การพิจารณาในวาระที่หนึ่ง ขั้นรับร่างพระราชบัญญัติ ---ค) การพิจารณาในวาระที่สอง ขั้นการพิจารณาเรียงตามลำดับมาตราของคณะกรรมาธิการ ---ง) การพิจารณาในวาระที่สาม ขั้นการลงมติเห็นชอบด้วย/ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร หรือแก้ไขเพิ่มเติม ---จ) การตั้งคณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาในกรณีที่สภาผู้แทนราษฎรไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติมของวุฒิสภา --4.2.2 บุคลากรที่สนับสนุนการดำเนินการในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ --4.2.3 การรองรับภารกิจการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาเพื่อสนับสนุนพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของวุฒิสภา ---ก) การจัดทำเอกสารประกอบการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ ---ข) การสนับสนุนแนวทางการรับฟังความคิดเห็นในการพิจารณาของวุฒิสภา --4.2.4 การรับฟังความคิดเห็นประกอบการจัดทำร่างกหมายในชั้นการพิจารณาของวุฒิสภา ---ก) แนวทางการรับฟังความคิดเห็นทั่วไปในชั้นการพิจารณาของคณะกรรมาธิการ -4.3 การวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคในการรองรับภารกิจการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของวุฒิสภา --4.3.1 ปัญหาการสนับสนุนภารกิจการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่เกี่ยวกับความเข้าใจในกระบวนการตามระบบงานนิติบัญญัติของฝ่ายเลขานุการคณะกรรมาธิการ --4.3.2 ปัญหาการดำเนินงานของหน่วยงานในการสนับสนุนภารกิจการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ ---ก) การประสานข้อมูลการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติระหว่างสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาและสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ---ข) การติดตามการพิจารณาในกรณีการตั้งคณะกรรมาธิการร่วมกันของรัฐสภา --4.3.3 ปัญหาเกี่ยวกับการรับฟังความคิดเห็นและการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากร่างพระราชบัญญัติและปัญหาเกี่ยวกับองค์ความรู้เฉพาะด้านของบุคลากรในการรองรับภารกิจการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ ---ก) ปัญหาเกี่ยวกับการรับฟังความคิดเห็นและการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากร่างพระราชบัญญัติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 77 วรรคสอง ---ข) ปัญหาเกี่ยวกับองค์ความรู้เฉพาะด้านของบุคลากรในการรองรับภารกิจการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ --4.3.4 ปัญหาความเข้าใจในเนื้อหาของร่างพระราชบัญญัติที่คลาดเคลื่อนของประชาชน --4.3.5 ปัญหาข้อจำกัดในด้านระยะเวลาการปฏิบัติงานในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ --4.3.6 ปัญหาเกี่ยวกับการรับฟังความคิดเห็นทั่วไปในการพิจารณาของคณะกรรมาธิการ -4.4 การวิเคราะห์ถึงความต้องการในการสนับสนุนภารกิจการพิจารณาของคณะกรรมาธิการ --4.4.1 ความต้องการในการวิเคราะห์ความเชื่อมโยงของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง --4.4.2 ความต้องการในการวิเคราะห์ผลกระทบทางกฎหมายที่อาจเกิดขึ้น --4.4.3 ความต้องการในการชี้แจงและให้ข้อมูลของฝ่ายเลขานุการคณะกรรมาธิการอย่างเป็นเหตุเป็นผล บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ -5.1 บทสรุป -5.2 ข้อเสนอแนะ --5.2.1 การปรับปรุงแนวทางการสนับสนุนการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ---ก) ข้อเสนอแนะในเชิงนโยบายในการปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยงานในการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากร่างพระราชบัญญัติ ---ข) การปรับปรุงแนวทางและกระบวนงานการสนับสนุนการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของหน่วยงาน --5.2.2 การพัฒนาองค์ความรู้ของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาของคณะกรรมาธิการและวุฒิสภา ---ก) การพัฒนาองค์ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมาธิการในระบบงานนิติบัญญัติ ---ข) การให้ความสำคัญกับการศึกษาองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง ---ค) การสร้างเครือข่ายการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ --5.2.3 การกำหนดแนวทางการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมาธิการ ---ก) การกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้ที่จะได้รับการเสนอชื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ช่วยเลขานุการ ---ข) การกำหนดแนวทางและขั้นตอนในการปฏิบัติหน้าที่ ---ค) หลักเกณฑ์และวิธีการรายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ ---ง) หลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบผลการปฏิบัติหน้าที่ ---จ) หลักเกณฑ์และวิธีการนำเสนอรายงานการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติเพื่อบรรจุระเบียบวาระการประชุม --5.2.4 การสร้างกลไกในการเข้าถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการตรากฎหมาย ---ก) ด้านการสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน ----(ก) การประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารการพิจารณาของคณะกรรมาธิการ ----(ข) การเพิ่มช่องทางและรูปแบบรับฟังความคิดเห็นของประชาชนหรือผู้มีส่วนได้เสียหรือได้รับผลกระทบ -----1) การจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นผ่านทางสื่อสาธารณะ -----2) การรับฟังความคิดเห็นผาสนแนวทางการสื่อสารโดยบุคคล -----3) การจัดอำนวยความสะดวกในการเข้าถึงของกลุ่มบุคคลตามความในมาตรา 128 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ----(ค) การปรับปรุงขั้นตอนการรับฟังความคิดเห็น -----1) จัดทำระเบียบหรือแนวทางปฏิบัติ -----2) การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย -----3) การประชาสัมพันธ์การรับฟังความคิดเห็น -----4) การกำหนดรูปแบบการรับฟังความคิดเห็น -----5) การจัดทำรายงานสรุปผลการรับฟังความคิดเห็น ---ข) ด้านงบประมาณ --5.2.5 ข้อเสนอเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลากรในสายงานนิติการเพื่อรองรับการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของฝ่ายนิติบัญญัติ บรรณานุกรม ประวัติผู้ศึกษา
|