สารบัญ:
|
ปก บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของการศึกษา -1.2 วัตถุประสงค์การศึกษา -1.3 แนวทางการศึกษา -1.4 วิธีการศึกษา -1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ -1.6 นิยามศัพท์ บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -2.1 แนวคิดทฤษฎีการจัดสวัสดิการ --2.1.1 ความหมายของสวัสดิการ --2.1.2 วัตถุประสงค์ของการจัดสวัสดิการ --2.1.3 ประเภทของการจัดสวัสดิการ --2.1.4 ประโยชน์ของการจัดสวัสดิการ --2.1.5 การใช้งบประมาณจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ --2.1.6 กฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศที่เกี่ยวข้องกับการจัดสวัสดิการภายในสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ---ก. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554 ---ข. ระเบียบสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรว่าด้วยการจัดสวัสดิการสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2555 --2.1.7 กฎหมายสวัสดิการที่บังคับใช้ภายในทุกส่วนราชการ ---ก. พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2553 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ---ข. พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาบุตร พ.ศ. 2562 ---ค. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ พ.ศ. 2550 ---ง. ข้อบังคับสหกรณ์ออมทรัพย์ข้าราชการฝ่ายรัฐสภา จำกัด พ.ศ. 2554 ---จ. ข้อบังคับคณะกรรมการบริหารเงินทุนหมุนเวียนเพื่อให้ข้าราชการสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรกู้ยืมเพื่อชำระหนี้สิน ว่าด้วยเงินทุนหมุนเวียนเพื่อให้ข้าราชการสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรกู้ยืมเพื่อชำระหนี้สิน พ.ศ. 2559 ---ฉ. กฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญข้าราชการ ---ช. พระราชกฤษฎีกาค่าเช่าบ้านข้าราชการ พ.ศ. 2547 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ---ซ. พระราชกฤษฎีกาสวัสดิการเงินกู้เพื่อที่อยู่อาศัย พ.ศ. 2535 ---ฌ. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของส่วนราชการ พ.ศ. 2553 --2.1.8 สวัสดิการที่ข้าราชการรัฐสภาสามัญได้รับในปัจจุบัน ---ก. เงินเดือน ค่าตอบแทนนอกเหนือจากเงินเดือน และเงินค่าตอบแทนพิเศษ ---ข. สวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล ---ค. สวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาบุตร ---ง. เงินตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ---จ. สวัสดิการเกี่ยวกับการลา ---ฉ. การศึกษาเพิ่มเติม ฝึกอบรมในประเทศหรือต่างประเทศ ---ช. สวัสดิการที่ได้รับจากการเกษียณอายุราชการ ---ซ. สวัสดิการเกี่ยวกับการกู้ยืม ---ฌ. ค่าเช่าบ้าน ---ญ. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร ---ฎ. สวัสดิการเงินกู้เพื่อที่อยู่อาศัยของข้าราชการ ---ฏ. รถราชการ ---ฐ. สวัสดิการบ้านพักข้าราชการ -2.2 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการแบบยืดหยุ่น --2.2.1 ความหมายของการจัดสวัสดิการแบบยืดหยุ่น --2.2.2 รูปแบบของการจัดสวัสดิการแบบยืดหยุ่น -2.3 ทฤษฎีลำดับขั้นตอนความต้องการของบุคคล -2.4 ทฤษฎีสองปัจจัย (Two-Factors Theory) -2.5 แนวทางการจัดสวัสดิการให้แก่ข้าราชการรัฐสภาในต่างประเทศ --2.5.1 เครือรัฐออสเตรเลีย --2.5.2 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asia Nations-ASEAN) -2.6 แนวคิดเรื่องการสื่อสารแบบสองทาง (Two-way-Communication) -2.7 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -2.8 กรอบแนวคิดในการศึกษา บทที่ 3 วิธีดำเนินการศึกษา -3.1 ประชากรที่ใช้ในการศึกษา -3.2 วิธีที่ใช้ในการศึกษา --3.2.1 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา --3.2.2 วิธีการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย -3.3 การวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 4 การอภิปรายผลการศึกษา -4.1 ข้อมูลพื้นฐานทั่วไปของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ -4.2 ผลการศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการจัดสวัสดิการของข้าราชการสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรกับข้าราชการในต่างประเทศ --4.2.1 ผลการศึกษาการจัดสวัสดิการของข้าราชการประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) และประเทศออสเตรเลียเปรียบเทียบกับการจัดสวัสดิการของข้าราชการสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร --4.2.2 ความต้องการในการจัดสวัสดิการของผู้บริหารฯ ของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร -4.3 แนวทางการจัดสวัสดิการของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรตามกฎหมายการจัดสวัสดิการ --4.3.1 สวัสดิการที่สามารถดำเนินการได้ตามกฎหมายสวัสดิการของส่วนราชการรัฐสภา --4.3.2 สวัสดิการที่สำนักงานฯ ต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้มีอำนาจตามกฎหมายสวัสดิการประเภทนั้นก่อนการดำเนินการ --4.3.3 การจัดสวัสดิการที่ยังไม่มีกฎหมายรองรับ บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ -5.1 สรุปผลการศึกษา --5.1.1 การเปรียบเทียบรูปแบบการจัดสวัสดิการของข้าราชการสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรกับข้าราชการในต่างประเทศ --5.1.2 ความต้องการในการจัดสวัสดิการของผู้บริหารของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร --5.1.3 แนวทางการจัดสวัสดิการของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรตามกฎหมายการจัดสวัสการ -5.2 ข้อเสนอแนะ --5.2.1 ข้อเสนอแนะเชิงวิชาการ --5.2.2 ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป บรรณานุกรม ภาคผนวก -แบบสัมภาษณ์ ประวัติผู้ศึกษา
|