สารบัญ:
|
ปก บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของการศึกษา -1.2 วัตถุประสงค์การศึกษา -1.3 ขอบเขตการศึกษา -1.4 วิธีดำเนินการศึกษา -1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 โครงสร้าง บทบาทหน้าที่ และการดำเนินงานของคณะกรรมาธิการสหภาพรัฐสภาว่าด้วยสิทธิมนุษยชนของสมาชิกรัฐสภา -2.1 บทบัญญัติในธรรมนูญสหภาพรัฐสภาเกี่ยวกับคณะกรรมาธิการสหภาพรัฐสภาว่าด้วยสิทธิมนุษยชนของสมาชิกรัฐสภา : โครงสร้าง องค์ประกอบ และอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมาธิการฯ -2.2 กระบวนการดำเนินงาน (procedure) ของคณะกรรมาธิการสหภาพรัฐสภาว่าด้วยสิทธิมนุษยชนของสมาชิกรัฐสภา -2.3 ขั้นตอนการดำเนินการเพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริงของคณะกรรมาธิการฯ -2.4 ตัวอย่างกรณีการละเมิดสิทธิมนุษยชนของสมาชิกรัฐสภาในประเทศต่าง ๆ และการดำเนินการของคณะกรรมาธิการฯ --2.4.1 รัสเซีย : กรณีนางกาลินา สตาโรวอยโตวา (Ms. Galina Starovoitova) --2.4.2 ตุรกี : กรณีสมาชิกรัฐสภาพรรคฝ่ายค้าน 57 คน ถูกจับกุมและตั้งข้อหาก่อการร้าย --2.4.3 เวเนซุเอลา : กรณีแก้ไขรัฐธรรมนูญเพื่อตั้งสภาใหม่ แทนที่รัฐสภาเดิม --2.4.4 มองโกเลีย : กรณีนายซอริก ซันจาซูเร็น (Mr. Zorig Sanjasuuren) --2.4.5 มาเลเซีย : กรณีนายอันวาร์ อิบราฮิม (Mr. Anwar Ibrahim) --2.4.6 กัมพูชา : กรณีผู้นำฝ่ายค้านถูกจับกุมดำเนินคดีและพรรคฝ่ายค้านถูกยุบ -2.5 ภาพรวมสถานการณ์ละเมิดสิทธิมนุษยชนของสมาชิกรัฐสภาทั่วโลกในปี 2560 บทที่ 3 กรณีศึกษาประเทศไทย : นายจตุพร พรหมพันธุ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร -3.1 การดำเนินการของคณะกรรมาธิการฯ ต่อกรณีนายจตุพร พรหมพันธุ์ และการตอบสนองของรัฐสภาไทยก่อนการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 -3.2 การดำเนินการของคณะกรรมาธิการฯ ต่อกรณีนายจตุพร พรหมพันธุ์ และการตอบสนองของรัฐสภาไทยในช่วงเปลี่ยนผ่านทางการเมือง (หลังวันที่ 22 พฤษภาคม 2557) -3.3 การดำเนินการของรัฐสภาไทย (สภานิติบัญญัติแห่งชาติ) ในการตอบสนองต่อข้อวินิจฉัยของคณะกรรมาธิการฯ -3.4 ความคืบหน้าล่าสุดในการดำเนินการของรัฐสภาไทย (สภานิติบัญญัติแห่งชาติ) -3.5 สถานะของคดีความต่าง ๆ ของนายจตุพรฯ ในปัจจุบัน บทที่ 4 กรณีศึกษาฟิลิปปินส์ : กรณีของนางเลลา เดอลิมา (Ms. Leila de Lima) สมาชิกวุฒิสภา -4.1 ภูมิหลังความเป็นมาของกรณีฟิลิปปินส์ -4.2 การพิจารณากรณีของนางเลลา เดอลิมา โดยคณะกรรมาธิการฯ ครั้งที่ 1 และคำวินิจฉัย -4.3 ภารกิจแสวงหาข้อเท็จจริงของคณะผู้แทนพิเศษของสหภาพรัฐสภา (Fact-finding Mission to the Philippines) -4.4 การออกคำวินิจฉัยเพิ่มเติมของคณะกรรมาธิการฯ ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 -4.5 ปฏิกิริยาและท่าทีของทางการฟิลิปปินส์ -4.6 บทสรุป : กรณีฟิลิปปินส์ บทที่ 5 บทสรุป -5.1 ความคล้ายคลึงกันของกรณีไทยกับฟิลิปปินส์ -5.2 ความแตกต่างระหว่างกรณีไทยกับฟิลิปปินส์ -5.3 บทวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบกรณีไทยกับฟิลิปปินส์ -5.4 ข้อสรุป และข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ประวัติผู้ศึกษา
|