สารบัญ:
|
ปก กิตติกรรมประกาศ บทสรุปผู้บริหาร Executive Summary สารบัญ สารบัญภาพและตาราง บทที่ 1 บทนำ[สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์] -1.1 หลักการและเหตุผล -1.2 วัตถุประสงค์ -1.3 ขอบเขตของโครงการ --1.3.1 การวิเคราะห์กฎหมายด้วยหลักเศรษฐศาสตร์: แนวคิดและวรรณกรรมปริทัศน์ --1.3.2 ภาพรวมของระบบกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทยจากมุมมองนิติเศรษฐศาสตร์ --1.3.3 ต้นทุนของระบบกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทย --1.3.4 ค่าปรับทางอาญาเปรียบเทียบกับมาตรการเยียวยาด้านเงินอื่นๆ จากมุมมองทางเศรษฐศาสตร์ --1.3.5 กรณีศึกษาทางเลือกในการบังคับใช้กฎหมายกรณีที่ 1: คดีหมิ่นประมาท --1.3.6 กรณีศึกษาทางเลือกในการบังคับใช้กฎหมายกรณีที่ 2: คดีเช็ค --1.3.7 การสำรวจข้อมูลที่สามารถใช้ได้ในการวิจัยเชิงประจักษ์ -1.4 โครงสร้างรายงานในโครงการวิจัย บทที่ 2 ปัญหาของระบบยุติธรรมทางอาญาของไทยจากมุมมองของนิติเศรษฐศาสตร์[สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์] -2.1 บทนำ --2.1.1 สภาพปัญหาของกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทย --2.1.2 ขนาดของระบบยุติธรรมทางอาญาของประเทศไทย --2.1.3 จำนวนคดีที่ค้างในศาลและนักโทษที่ถูกจำคุก -ภาพที่ 2.1 งบประมาณของระบบยุติธรรมทางอาญาไทยเปรียบเทียบกับต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2546 -ภาพที่ 2.2 จำนวนบุคลากรในระบบยุติธรรมทางอาญาของไทยเปรียบเทียบกับต่างประเทศ -ภาพที่ 2.3 จำนวนคดีอาญาที่ค้างหรืออยู่ระหว่างการดำเนินการของศาล ปี พ.ศ. 2546-2551 -ภาพที่ 2.4 จำนวนนักโทษของไทยเปรียบเทียบกับต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2546 -2.2 หลักนิติเศรษฐศาสตร์ของระบบยุติธรรมทางอาญา --2.2.1 การป้องปรามโดยการลงโทษที่เป็นตัวเงิน (deterrrence with monetary sanction) --2.2.2 การป้อมปรามโดยการลงโทษที่ไม่เป็นตัวเงิน (deterrence with non-monetary sanction) -2.3 ปัญหาของกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทยจากการวิเคราะห์ทางนิติเศรษฐศาสตร์ --2.3.1 การใช้กระบวนการทางอาญาเป็นหลักในการระงับข้อพิพาท --2.3.2 การกำหนดโทษปรับต่ำเกินกว่าระดับที่เหมาะสมมาก -ตารางที่ 2.1 ค่าปรับที่ควรจะเป็นในปัจจุบันเพื่อให้มีค่าที่แท้จริงเท่ากับปีที่บัญญัติกฎหมาย -ภาพที่ 2.5 ดัชนีราคาผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP deflator) -2.4 สรุป -ภาพที่ 2.6 ความน่าจะเป็นในการจับผู้ต้องหาของตำรวจประเทศไทย ปี 2548 บทที่ 3 การวิเคราะห์กระบวนการยุติธรรมทางอาญาในเชิงประจักษ์[สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์] -ตารางที่ 3.1 ระวางโทษสูงสุดของการกระทำความผิดในแต่ละฐานความผิด -3.1 กระบวนการพิจารณาคดีอาญาของไทย --3.1.1 คดีที่รัฐเป็นผู้เสียหาย --3.1.2 คดีที่ประชาชนเป็นผู้เสียหาย -ภาพที่ 3.1 กระบวนพิจารณาความอาญา -3.2 กรณีศึกษาการพิจารณาคดีอาญาที่เกี่ยวกับ 8 ฐานความผิดในศาลชั้นต้น --3.2.1 ความผิดอันยอมความได้ -ภาพที่ 3.2 เส้นทางของคดีความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค -ภาพที่ 3.3 เส้นทางของคดีความผิดฐานหมิ่นประมาท --3.2.2 ความผิดอาญาแผ่นดิน -ภาพที่ 3.4 เส้นทางของคดีความผิดฐานลักทรัพย์ -ภาพที่ 3.5 เส้นทางของคดีความผิดเกี่ยวกับการพนัน -ภาพที่ 3.6 เส้นทางของคดีความผิดเกี่ยวกับการจราจรทางบก -ภาพที่ 3.7 เส้นทางของคดีความผิดเกี่ยวกับอาวุธปืน -ภาพที่ 3.8 เส้นทางของคดียาเสพติด -3.3 สรุปและข้อสังเกตเบื้องต้นของคณะผู้วิจัย -ภาพที่ 3.9 เส้นทางของคดีความผิดต่อร่างกาย -ตารางที่ 3.2 สรุปคำพิพากษาของศาลใน 8 ฐานความผิด -ตารางที่ 3.3 (ก) เปรียบเทียบผลการพิจารณาคดีเช็คที่ผู้เสียหายฟ้องเองกับที่อัยการยื่นฟ้อง -ตารางที่ 3.3 (ข) เปรียบเทียบผลการพิจารณาคดีหมิ่นประมาทที่ผู้เสียหายกับอัยการยื่นฟ้อง -3.4 การพิจารณาคดีอาญาในศาลฎีกา -ภาพที่ 3.10 อัตราการรับสารภาพของจำเลยในชั้นพิจารณาคดีของศาล -ตารางที่ 3.4 การลงโทษในกรณีเอกชนเป็นผู้เสียหายและเป็นความผิดต่อส่วนตัว -ตารางที่ 3.5 การลงโทษในกรณีที่รัฐเป็นผู้เสียหายหรือความผิดอาญาแผ่นดิน -3.5 เวลาที่ใช้ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา -ตารางที่ 3.6 สรุปเวลาที่ใช้ในขั้นตอนต่าง ๆ ของกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของคดี -3.6 ข้อเสนอแนะเบื้องต้นต่อทางเลือกในการปฏิรูป บทที่ 4 ทางเลือกในการเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา[สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์] -4.1 แบบจำลองที่ใช้ในการประมาณการต้นทุนของรัฐในกระบวนการยุติธรรม -ภาพที่ 4.1 แบบจำลองแสดงเส้นทางของคดีในกระบวนการยุติธรรมอาญา -4.2 ต้นทุนของภาครัฐที่จะลดลงจากการปฏิรูปในแต่ละทางเลือก -4.3 สรุปและข้อเสนอแนะทางนโยบาย -ตารางที่ 4.1 สรุปทางเลือกในการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมทางอาญา และข้อสมมติ (assumption) ที่ใช้ในการประมาณการ -ตารางที่ 4.2 สรุปต้นทุนของรัฐที่ลดลงจากการปฏิรูปตามทางเลือกต่าง ๆ บทที่ 5 การใช้โทษปรับในการลงโทษผู้กระทำผิดทางอาญา[สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์][สุนทร ตันมันทอง] -5.1 แนวคิดเรื่องค่าปรับ -5.2 ประสิทธิผลของค่าปรับในการป้องปรามการทำผิด -ตารางที่ 5.1 ร้อยละของการใช้โทษปรับในการลงโทษผู้กระทำผิดในคดีอาญาในเยอรมนี -5.3 ค่าปรับที่เหมาะสมที่สุด -5.4 ค่าปรับตามรายได้ (day fines) --5.4.1 แนวคิด --5.4.2 ความเป็นมาและประสบการณ์ในการใช้ --5.4.3 กระบวนการบังคับโทษปรับตามรายได้ -ตารางที่ 5.2 ตัวอย่างตารางหน่วยวันปรับของความผิดตามระดับความร้ายแรงใน Staten Island -ตารางที่ 5.3 ตัวอย่างช่วงค่าของหน่วยวันปรับใน Staten Island -ตารางที่ 5.4 วิธีการประเมินรายได้สิทธิต่อวันของผู้กระทำความผิดในประเทศต่าง ๆ --5.4.4 ข้อจำกัดและประเด็นโต้แย้งของโทษปรับตามรายได้ -5.5 สรุปและข้อเสนอแนะ บทที่ 6 สรุปและข้อเสนอแนะ[สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์] -6.1 สรุป -6.2 ข้อเสนอแนะ เอกสารอ้างอิง ภาคผนวกที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญาที่สามารถใช้ได้ในงานศึกษาเชิงประจักษ์[สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์][อิสร์กุล อุณหเกตุ]
|