สารบัญ:
|
ปกหน้า บทสรุปผู้บริหาร บทคัดย่อ Abstract สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ สารบัญแผนภูมิ อภิทานศัพท์ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความสำคัญและที่มาของปัญหา -1.2 วัตถุประสงค์ในการวิจัย -1.3 ทฤษฎีและกรอบแนวคิดของโครงการวิจัย -1.4 วิธีการดำเนินการวิจัย -1.5 ขอบเขตของงานวิจัย -1.6 ประโยชน์ที่ได้รับ บทที่ 2 การให้บริการทางการเงินตามหลักอิสลาม -2.1 หลักการการเงินอิสลามและระบบการเงินตามหลักศาสนาอิสลาม --2.1.1 หลักการการเงินอิสลาม --2.1.2 ระบบการเงินอิสลาม -ภาพที่ 1 องค์ประกอบของระบบการเงินตามหลักศาสนาอิสลาม -ภาพที่ 2 การขยายตัวของระบบการเงินและส่วนแบ่งตลาดของแต่ละองค์ประกอบของระบบการเงิน --2.1.3 สถาบันการเงินตามหลักศาสนาอิสลาม -ตารางที่ 1 เปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันการเงินและลูกค้าของสถาบันการเงินทั่วไป และสถาบันการเงินตามหลักศาสนาอิสลาม -ตารางที่ 2 เปรียบเทียบความแตกต่างของการให้บริการของสถาบันการเงินทั่วไปและสถาบันการเงินตามหลักศาสนาอิสลาม -ภาพที่ 3 หน้าที่ของเงินในระบบการเงินตามหลักศาสนาอิสลาม --2.1.4 การประกันภัยตามหลักศาสนาอิสลาม (Takaful) -ตารางที่ 3 เปรียบเทียบความแตกต่างของประกันภัยทั่วไปและประกันภัยตามหลักศาสนาอิสลาม --2.1.5 ตลาดทุนตามหลักศาสนาอิสลาม -ภาพที่ 4 รูปแบบการบริหารจัดการเงินประกันตามหลักศาสนาอิสลาม -2.2 รูปแบบการให้บริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลาม -ภาพที่ 5 การออกตราสารหนี้ตามหลักศาสนาอิสลามโดยใช้รูปแบบอิญาเราะฮ์ -ภาพที่ 6 การออกตราสารหนี้ตามหลักศาสนาอิสลามโดยใช้รูปแบบบัยอ์ บิซะมัน อาญิล --2.2.1 มุชารอกะฮ์ (Musharakah) -ภาพที่ 7 รูปแบบการให้บริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลาม --2.2.2 มุดอรอบะฮ์ (Mudharabah) --2.2.3 มุรอบาฮะฮ์ (Murabahah) --2.2.4 อิญาเราะฮ์ (Ijarah) --2.2.5 ซะลัม (Salam) --2.2.6 อิสติสนา (Istisna) --2.2.7 วะกาละฮ์ (Wakalah) --2.2.8 กะฟาละฮ์ (Kafalah) --2.2.9 วะดีอะฮ์ (Wadiah) --2.2.10 ก็อดดุล ฮาซัน (Qardhul Hasan) -2.3 การให้บริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลามระหว่างประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศแถบอ่าวอาหรับ --2.3.1 บัยอ์ อัลอีนะฮ์ (Bai al-Inah) --2.3.2 ตะวัรรุก (Tawarruq) --2.3.3 มุรอบาฮะฮ์กับสถาบันการเงินอื่น --2.3.4 บัยอ์ อัลดัยน์ (Bai al-Dayn) --2.3.5 หลักเกณฑ์กลางในการกำกับดูแลตามหลักชะริอะฮ์ -ตารางที่ 4 เปรียบเทียบความสัมพันธ์หลักการเงินอิสลามระหว่างประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศแถบตะวันออกกลาง บทที่ 3 ผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินตามหลักชะริอะฮ์ในประเทศไทย -3.1 ระบบการเงินตามหลักชะริอะฮ์ในประเทศไทย --3.1.1 สถาบันการเงิน --3.1.2 สหกรณ์ --3.1.3 บริษัทประกันภัย --3.1.4 บริษัทลิสซิ่ง --3.1.5 บริษัทหลักทรัพย์ -3.2 การให้บริการทางการเงินตามหลักอิสลาม --3.2.1 ผลิตภัณฑ์ด้านสินเชื่อ --3.2.2 ผลิตภัณฑ์ด้านเงินฝาก --3.2.3 การค้าระหว่างประเทศ --3.2.4 การแลกเปลี่ยนเงินตรา --3.2.5 หนังสือค้ำประกันและการค้าภายในประเทศ --3.2.6 การรับจำนำ --3.2.7 ประกันภัยหรือตะกาฟุล --3.2.8 กองทุนรวมเพื่อการลงทุน --3.2.9 ตราสารศุกูก (Sukuk) --3.2.10 FTSE SET Shariah Index -ตารางที่ 5 ผลิตภัณฑ์ตามหลักศาสนาอิสลามในประเทศไทย -3.3 วิเคราะห์ SWOT ระบบการเงินตามหลักชะริอะฮ์ในประเทศไทย --3.3.1 ด้านจุดแข็ง (Strength) --3.3.2 ด้านจุดอ่อน (Weakness) --3.3.3 ด้านโอกาส (Opportunity) --3.3.4 ด้านอุปสรรค (Threat) บทที่ 4 ประสบการณ์การให้บริการทางการเงินตามหลักชะริอะฮ์ในต่างประเทศ -ภาพที่ 8 การจัดอันดับการให้บริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลาม -4.1 ซาอุดิอาระเบีย --4.1.1 ความต้องการบริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลามในซาอุดิอาระเบีย --4.1.2 พัฒนาการของระบบการเงินตามหลักอิสลามในซาอุดิอาระเบีย -ภาพที่ 9 สัดส่วนสินทรัพย์ของสถาบันการเงินตามหลักศาสนาอิสลามในกลุ่มประเทศอ่าวอาหรับ ในปี พ.ศ. 2556 --4.1.3 ผลิตภัณฑ์ทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลามในซาอุดิอาระเบีย -ตารางที่ 6 ธนาคารพาณิชย์ตามหลักศาสนาอิสลามในซาอุดิอาระเบีย ในปี พ.ศ. 2556 -ภาพที่ 10 ส่วนแบ่งสินทรัพย์และเงินฝากของธนาคารพาณิชย์ตามหลักศาสนาอิสลามซาอุดิอาระเบียที่มีขนาดใหญ่ 7 อันดับแรกในปี พ.ศ. 2556 -ตารางที่ 7 รูปแบบการทำธุรกรรมของธนาคารพาณิชย์ตามหลักศาสนาอิสลามซาอุดิอารเบีย -ตารางที่ 8 ผลิตภัณฑ์ทางการเงินของธนาคารพาณิชย์ในประเทศซาอุดิอาระเบีย -ภาพที่ 11 การขยายตัวของตลาดประกันภัยตามหลักศาสนาอิสลามในซาอุดิอาระเบีย (ปี พ.ศ. 2553 - 2559) -ตารางที่ 9 ผลิตภัณฑ์ประกันภัยตามหลักศาสนาอิสลามในซาอุดิอาระเบีย -4.2 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ --4.2.1 ความต้องการบริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลามในสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ -ภาพที่ 12 รูปแบบการทำธุรกรรมของตราสารศุกุกในซาอุดิอาระเบีย --4.2.2 พัฒนาการของระบบการเงินตามหลักอิสลามในสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ --4.2.3 ผลิตภัณฑ์ทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลามในสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ -ตารางที่ 10 ธนาคารพาณิชย์ตามหลักศาสนาอิสลามในสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ในปี พ.ศ. 2556 -ตารางที่ 11 จำนวนสถาบันการเงินตามหลักศาสนาอิสลามในสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557) -ตารางที่ 12 ผลิตภัณฑ์ทางการเงินของธนาคารพาณิชย์ในสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ -ตารางที่ 13 ผลิตภัณฑ์ประกันภัยตามหลักศาสนาอิสลามในสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ -ภาพที่ 13 มูลค่าเบี้ยประกันภัยของกลุ่มประเทศในอ่าวอาหรับ (ปี พ.ศ. 2552 - 2557) -ตารางที่ 14 มูลค่าคงค้างของตราสารศุกุกที่ประเทศต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 2558 -4.3 มาเลเซีย --4.3.1 ความต้องการบริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลามในมาเลเซีย --4.3.2 พัฒนาการของระบบการเงินตามหลักอิสลามในประเทศมาเลเซีย --4.3.3 ผลิตภัณฑ์ทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลามในมาเลเซีย -ตารางที่ 15 พัฒนาการของระบบการเงินตามหลักศาสนาอิสลามในมาเลเซีย -ตารางที่ 16 ธนาคารพาณิชย์ตามหลักศาสนาอิสลามในประเทศมาเลเซีย ในปี พ.ศ. 2556 -ตารางที่ 17 ผลิตภัณฑ์ทางการเงินของธนาคารพาณิชย์ในประเทศมาเลเซีย -ตารางที่ 18 ผลิตภัณฑ์ประกันภัยตามหลักศาสนาอิสลามของประเทศมาเลเซีย -ตารางที่ 19 ผลิตภัณฑ์ตลาดทุนตามหลักศาสนาอิสลามของประเทศมาเลเซีย -ภาพที่ 14 ขนาดของตลาดทุนตามหลักศาสนาอิสลาม (Islamic Capital Market : ICM) และส่วนแบ่งตลาดของ ICM -4.4 อินโดนีเซีย --4.4.1 ความต้องการบริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลามในอินโดนีเซีย --4.4.2 พัฒนาการของระบบการเงินตามหลักอิสลามในอินโดนีเซีย --4.4.3 ผลิตภัณฑ์ทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลามในอินโดนีเซีย -ตารางที่ 20 ธนาคารพาณิชย์ตามหลักศาสนาอิสลามเต็มรูปแบบในประเทศอินโดนีเซีย ในปี พ.ศ. 2558 -ตารางที่ 21 ธนาคารพาณิชย์ที่ให้บริการตามหลักศาสนาอิสลามแบบหน้าต่างคู่ขนานในประเทศอินโดนีเซีย ในปี พ.ศ. 2558 -ตารางที่ 22 ผลิตภัณฑ์ทางการเงินของธนาคารพาณิชย์ในประเทศอินโดนีเซีย -ตารางที่ 23 ผลิตภัณฑ์ประกันภัยตามหลักศาสนาอิสลามของประเทศอินโดนีเซีย -ภาพที่ 15 มูลค่าตราสารศุกุกตามราคา Nominal และราคาคงเหลือ (Outstanding) เดือนเมษายน 2557 -ภาพที่ 16 มูลค่าตราสารศุกุกที่ออกโดยรัฐบาลอินโดนีเซียในปี พ.ศ. 2557 -4.5 ออสเตรเลีย --4.5.1 ความต้องการบริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลามในประเทศออสเตรเลีย -ตารางที่ 24 รูปแบบการออกตราสารศุกุกของรัฐบาลอินโดนีเซียตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 - 2557 --4.5.2 พัฒนาการของระบบการเงินตามหลักอิสลามในออสเตรเลีย --4.5.3 ผลิตภัณฑ์ทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลามในออสเตรเลีย -4.6 สหราชอาณาจักร --4.6.1 ความต้องการบริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลามในสหราชอาณาจักร --4.6.2 พัฒนาการของระบบการเงินตามหลักอิสลามในสหราชอาณาจักร -ตารางที่ 25 สรุปพัฒนาการบริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลามในสหราชอาณาจักร --4.6.3 ผลิตภัณฑ์ทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลามในสหราชอาณาจักร -ตารางที่ 26 ผลิตภัณฑ์ทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลามของสถาบันการเงินในสหราชอาณาจักร -ตารางที่ 27 ผลิตภัณฑ์ประกันภัยตามหลักศาสนาอิสลามของสหราชอาณาจักร -ตารางที่ 28 รายละเอียดตราสารศุกุกที่ออกโดยรัฐบาลสหราชอาณาจักร บทที่ 5 การสำรวจข้อมูล -5.1 การศึกษาอุปสงค์ของบริการทางการเงินตามหลักอิสลาม -5.2 ปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงบริการทางการเงิน -5.3 ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการทางการเงินกับธนาคารพาณิชย์ทั่วไป -5.4 ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลาม -5.5 การออกแบบสอบถาม -5.6 การสำรวจข้อมูล บทที่ 6 ผลการสำรวจข้อมูล -6.1 การวิเคราะห์ผลสำรวจความต้องการบริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลาม --6.1.1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม -ตารางที่ 29 จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามรายจังหวัด -ตารางที่ 30 จำนวนผู้อยูู่อาศัยในครัวเรือนของผู้ตอบแบบสอบถาม -แผนภูมิที่ 1 พื้นที่อยู่อาศัยของผู้ตอบแบบสอบถาม -ตารางที่ 31 จำนวนเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปีในครัวเรือนของผู้ตอบแบบสอบถาม -ตารางที่ 32 จำนวนผู้สูงอายุที่มีอายุมากกว่า 60 ปีในครัวเรือนของผู้ตอบแบบสอบถาม -ตารางที่ 33 อายุของผู้ตอบแบบสอบถาม -ตารางที่ 34 สถานภาพสมรสของผู้ตอบแบบสอบถาม -แผนภูมิที่ 2 สัดส่วนของผู้ตอบแบบสอบถามแยกตามเพศ -ตารางที่ 35 ระดับการศึกษาของผู้ตอบแบบสอบถาม -ตารางที่ 36 ระดับรายได้ของผู้ตอบแบบสอบถาม -แผนภูมิที่ 3 ศาสนาของผู้ตอบแบบสอบถาม -แผนภูมิที่ 4 สัดส่วนผู้ตอบแบบสอบถามที่นับถือศาสนาอิสลามแยกตามการละหมาด --6.1.2 ข้อมูลด้านการใช้บริการทางการเงิน (สินเชื่อ เงินฝาก ประกันภัย และผลิตภัณฑ์ทางการเงินในตลาดเงินตลาดทุน) -ตารางที่ 37 สรุปความต้องการใช้บริการสินเชื่อ -ตารางที่ 38 สรุปการใช้บริการสินเชื่อในปัจจุบัน -ตารางที่ 39 สถาบันการเงินและแหล่งบริการทางการเงินที่ผู้ตอบแบบสอบถามใช้บริการ แยกตามประเภทสินเชื่อ -ตารางที่ 40 อัตราดอกเบี้ยสินเชื่อเฉลี่ยต่อปี -แผนภูมิที่ 5 วงเงินของสินเชื่อที่ผู้ตอบแบบสอบถามใช้อยู่ในปัจจุบัน -ตารางที่ 41 ยอดเงินฝากในปัจจุบันของผู้ตอบแบบสอบถาม -ตารางที่ 42 จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามที่ฝากเงินที่สถาบันการเงินแต่ละประเภท -ตารางที่ 43 จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามที่ใช้ประกันภัยส่วนบุคคล -ตารางที่ 44 จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามที่ใช้ประกันภัยเกี่ยวกับทรัพย์สิน --6.1.3 ความต้องการการใช้บริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลาม -ตารางที่ 45 จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามที่ใช้ผลิตภัณฑ์การเงินในตลาดเงินและตลาดทุน -แผนภูมิที่ 6 จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามที่รู้จักบริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลาม -ตารางที่ 46 จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามที่มั่นใจว่าบริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลามดำเนินการตามหลักชะริอะฮ์ -ตารางที่ 47 จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามที่เคยใช้บริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลาม แยกตามประเภท -แผนภูมิที่ 7 จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามที่เคยใช้บริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลาม --6.1.4 ข้อมูลจากผู้ตอบแบบสอบถามที่ไม่เคยใช้บริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลาม -แผนภูมิที่ 8 สาเหตุที่ผู้ตอบแบบสอบถามที่ไม่เคยใช้บริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลามตัดสินใจใช้บริการทางการเงิน -แผนภูมิที่ 9 สาเหตุที่ไม่เคยใช้บริการตามหลักศาสนาอิสลาม -ตารางที่ 48 จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามที่ไม่เคยใช้บริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลามแต่สนใจหลังจากได้ข้อมูลเพิ่มเติม -ตารางที่ 49 บริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลามที่ผู้ตอบแบบสอบถามที่ไม่เคยใช้บริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลามสนใจ --6.1.5 สำหรับผู้ตอบแบบสอบถามที่เคยใช้บริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลาม -ตารางที่ 50 สาเหตุที่ผู้ตอบแบบสอบถามตัดสินใจใช้บริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลาม -ตารางที่ 51 บริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลามที่ผู้ตอบแบบสอบถามที่เคยใช้บริการทางการเงินต้องการใช้แต่ไม่มีให้บริการ -แผนภูมิที่ 10 สถาบันการเงินที่ผู้ตอบแบบสอบถามใช้บริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลาม --6.1.6 ความต้องการใช้บริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลามแยกตามรายได้และสถาบันการเงินที่เคยใช้บริการ -ตารางที่ 52 ความต้องการบริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลามที่ยังไม่ได้รับบริการ แยกตามรายได้ของผู้ตอบแบบสอบถาม -6.2 การวิเคราะห์เชิงเศรษฐมิติ -ตารางที่ 53 ความต้องการบริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลามที่ยังไม่ได้รับบริการ แยกตามสถาบันการเงินที่ใช้บริการ บทที่ 7 สรุปและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย -7.1 สรุป -7.2 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย -7.3 ข้อจำกัดของงานวิจัย บรรณานุกรม ภาคผนวก
|