สารบัญ:
|
ปก รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง "แนวทางการยกเลิกโทษอาญาในกฎหมายเช็คและกฎหมายหมิ่นประมาท"[สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์] สารบัญ สารบัญภาพ บทที่ 1 กระบวนการยุติธรรมทางอาญากับวัตถุประสงค์การลงโทษ : มุมมองจากนิติศาสตร์[สรวิศ ลิมปรังษี] -1.1 บทนำ -1.2 ปัญหาการเน้นการลงโทษทางอาญามากเกินไป (Overcriminalization) ในระบบกฎหมายไทย -1.3 ปัญหาความโน้มเอียงของบทลงโทษในการกำหนดโทษจำคุก (Imprisonment) มากกว่าการลงโทษปรับ (Fine) -1.4 ระบบกลั่นกรองคดีในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา -เอกสารอ้างอิง บทที่ 2 นิติเศรษฐศาสตร์ว่าด้วยกฎหมายเช็ค[สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์] -2.1 สถิติเกี่ยวกับการใช้เช็คและคดีเช็ค --2.1.1 สถิติการใช้เช็ค -ภาพที่ 2.1 ปริมาณการใช้เช็ค พ.ศ. 2549-2552 (ล้านฉบับ) -ภาพที่ 2.2 มูลค่าการใช้เช็ค พ.ศ. 2549-2552 (ล้านล้านบาท) --2.1.2 สถิติเช็คคืน -ภาพที่ 2.3 สัดส่วนร้อยละของปริมาณเช็คคืนต่อเช็คเรียกเก็บ พ.ศ. 2549-2552 -ภาพที่ 2.4 สัดส่วนร้อยละของมูลค่าเช็คคืนต่อเช็คเรียกเก็บ พ.ศ. 2549-2552 --2.1.3 สถิติเกี่ยวกับคดีเช็ค -ภาพที่ 2.5 จำนวนคดีเช็คที่ขึ้นสู่การพิจารณาของศาล (พ.ศ. 2547-2551) -ภาพที่ 2.6 จำนวนคดีเช็คที่ศาลพิจารณาเสร็จสิ้นไป (พ.ศ. 2547-2551) -2.2 รูปแบบการใช้เช็ค --2.2.1 เช็คในฐานะวิธีการชำระเงิน --2.2.2 เช็คในฐานะสินเชื่อ -2.3 โทษทางอาญากับคดีเช็ค --2.3.1 องค์ประกอบความผิดและโทษ --2.3.2 การดำเนินคดีอาญาความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค --2.3.3 ข้อสังเกตเกี่ยวกับปัญหาทางข้อกฎหมายเกี่ยวกับคดีเช็ค --2.3.4 การศึกษาเส้นทางของคดีเช็คในกระบวนการยุติธรรม -2.4 ความคิดเห็นต่อการกำหนดความรับผิดทางอาญาอันเนื่องมาจากการใช้เช็ค -2.5 การประมาณการต้นทุนในคดีความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค -2.6 ความพยายามที่ผ่านมาในการยกเลิกความผิดทางอาญาเกี่ยวกับการใช้เช็ค -2.7 ทางเลือกและข้อเสนอแนะทางนโยบาย --2.7.1 การใช้ประมวลกฎหมายอาญากับการใช้เช็ค กรณีมีการฉ้อโกงหรือการปลอมตั๋วเงิน --2.7.2 การใช้ศูนย์ข้อมูลเครดิตสร้างความน่าเชื่อถือในการใช้เช็ค --2.7.3 การใช้มาตรการทางธนาคารเพื่อสร้างความน่าเชื่อถือในการใช้เช็ค --2.7.4 ประเมินข้อดีและข้อเสียของข้อเสนอต่าง ๆ -2.8 สรุปและข้อเสนอแนะ -เอกสารอ้างอิง บทที่ 3 นิติเศรษฐศาสตร์กับคดีหมิ่นประมาท[ปกป้อง ศรีสนิท] -3.1 แนวคิดของความผิดฐานหมิ่นประมาท -3.2 กฎหมายหมิ่นประมาทในประเทศไทย --3.2.1 ความรับผิดทางแพ่ง --3.2.2 ความรับผิดทางอาญา --3.2.3 การดำเนินคดีหมิ่นประมาท -3.3 กฎหมายหมิ่นประมาทในต่างประเทศ -3.4 การดำเนินคดีหมิ่นประมาทวิเคราะห์จากเศรษฐศาสตร์ --3.4.1 ต้นทุนและผลประโยชน์ของผู้เสียหาย (private cost-benefit analysis) -ภาพที่ 3.1 สถานะทางกฎหมายหมิ่นประมาทของประเทศต่าง ๆ --3.4.2 ต้นทุนของสังคมและผลประโยชน์ของสังคม (social costs and benefits) -3.5 การปรับปรุงกฎหมายหมิ่นประมาท --3.5.1 การยกเลิกความผิดอาญาฐานหมิ่นประมาทบางกรณี --3.5.2 การยกเลิกโทษจำคุกความผิดฐานหมิ่นประมาท คงเหลือไว้แต่โทษปรับ --3.5.3 การปรับปรุงกระบวนการดำเนินคดีหมิ่นประมาท --3.5.4 เพิ่มกระบวนการไกล่เกลี่ยเป็นเงื่อนไขของการดำเนินคดี -3.6 สรุป -เอกสารอ้างอิง ภาคผนวก -ภาคผนวกที่ 1 : กฎหมายว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค[สรวิศ ลิมปรังษี] -ภาคผนวกที่ 2 : การยกเลิกความผิดเกี่ยวกับการใช้เช็ค[ปกป้อง ศรีสนิท]
|