สารบัญ:
|
ปก รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง "การวิเคราะห์กฎหมายด้วยหลักเศรษฐศาสตร์ : แนวคิดและวรรณกรรมปริทัศน์"[ปกป้อง จันวิทย์] สารบัญ บทที่ 1 บทนำว่าด้วยนิติเศรษฐศาสตร์ -1.1 นิติเศรษฐศาสตร์ -1.2 โครงสร้างของรายงานวิจัย -1.3 แว่นตาของนักเศรษฐศาสตร์ : โลกทัศน์และระบบการใช้เหตุผลทางเศรษฐศาสตร์ที่สำคัญ --1.3.1 ความตระหนักในความจำกัดของทรัพยากร --1.3.2 การให้คุณค่ากับมิติด้านประสิทธิภาพ --1.3.3 มนุษย์มีเหตุมีผลทางเศรษฐศาสตร์ และมีพฤติกรรมตอบสนองต่อสิ่งจูงใจ --1.3.4 ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์มีขอบเขตกว้างขวาง --1.3.5 คนคิดแบบ "ส่วนเพิ่ม" (Marginal thinking) --1.3.6 "ตลาด" หรือ "กลไกราคา" เป็นกติกากำกับเศรษฐกิจที่มีประสิทธิภาพในการจัดสรรทรัพยากรมากที่สุด --1.3.7 ความเชื่อมั่นในกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคล -1.4 เป้าหมายและรูปแบบของการศึกษานิติเศรษฐศาสตร์ --1.4.1 คำถาม 3 ระดับของนิติเศรษฐศาสตร์ --1.4.2 นิติเศรษฐศาสตร์ตามสภาพความเป็นจริง และนิติเศรษฐศาสตร์ตามสภาพที่ควรจะเป็น บทที่ 2 นิติเศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการป้องปรามอาชญากรรม -2.1 แก่นของนิติเศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการป้องปรามอาชญากรรม -2.2 ลักษณะแบบแผนของพฤติกรรมของอาชญากร -2.3 รูปแบบวิธีการลงโทษที่เหมาะสม (โทษปรับและโทษจำคุก) --2.3.1 การเปรียบเทียบโทษปรับและโทษจำคุก --2.3.2 ความจำเป็นของโทษจำคุก --2.3.3 โทษจำคุกกับการลดอาชญากรรม --2.3.4 โทษประหารชีวิต -2.4 ขนาดของบทลงโทษทางอาญาที่เหมาะสม --2.4.1 ค่าปรับที่เหมาะสม (Optimal Fine) --2.4.2 บทลงโทษจำคุกที่เหมาะสม (Optimal Imprisonment) --2.4.3 การลงโทษแบบผสมผสาน -2.5 ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของบทลงโทษและโอกาสในการถูกจับกุมผู้กระทำความผิดมาลงโทษ --2.5.1 ความสัมพันธ์ระหว่างการกำหนดขนาดของบทลงโทษกับโอกาสในการจับกุมผู้กระทำความผิด --2.5.2 ระบบการลงโทษที่มีประสิทธิภาพ : การเพิ่มขนาดของบทลงโทษเหนือการเพิ่มโอกาสในการจับกุม --2.5.3 โอกาสในการจับตัวผู้กระทำผิดมาลงโทษในคดีอาญา --2.5.4 ผลลัพธ์จากการเพิ่มกำลังเจ้าหน้าที่ตำรวจ --2.5.5 อัตราค่าปรับที่เหมาะสมในโลกแห่งความจริง -2.6 การป้องปรามส่วนเพิ่ม (Marginal Deterrence) -2.7 จุดแข็งของนิติเศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการป้องปรามอาชญากรรม -2.8 ข้อวิจารณ์ต่อนิติเศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการป้องปรามอาชญากรรม --2.8.1 ข้อวิจารณ์ในระดับวิธีวิทยา --2.8.2 ข้อวิจารณ์ในระดับปฏิบัติ บทที่ 3 บทสำรวจแนวคิดเบื้องต้นของนิติเศรษฐศาสตร์สาขาต่าง ๆ -3.1 นิติเศรษฐศาสตร์ว่าด้วยกฎหมายกรรมสิทธิ์ --3.1.1 แก่นแนวคิด --3.1.2 ตัวอย่างทฤษฎี : หลักการเวนคืนและการชดเชย -3.2 นิติเศรษฐศาสตร์ว่าด้วยกฎหมายสัญญา --3.2.1 แก่นแนวคิด --3.2.2 ตัวอย่างทฤษฎี : การเบี้ยวสัญญาที่มีประสิทธิภาพ (Efficient Breach of Contract) -3.3 นิติเศรษฐศาสตร์ว่าด้วยกฎหมายละเมิด --3.3.1 แก่นแนวคิด --3.3.2 ตัวอย่างทฤษฎี : หลักการชดเชยผู้เสียหาย (Compensation) -3.4 นิติเศรษฐศาสตร์ว่าด้วยกฎหมายอุบัติเหตุ --3.4.1 แก่นแนวคิด --3.4.2 ตัวอย่างทฤษฎี : ระดับการระมัดระวังที่เหมาะสมในกรณีของหลักความรับผิดโดยประมาท หรือ กฎของแฮนด์ (Hand Rule) -3.5 นิติเศรษฐศาสตร์ว่าด้วยกฎหมายสิ่งแวดล้อม --3.5.1 แก่นแนวคิด --3.5.2 ตัวอย่างทฤษฎี : กฎหมายภาษีสิ่งแวดล้อม -3.6 นิติเศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการฟ้องร้องดำเนินคดี --3.6.1 แก่นแนวคิด --3.6.2 ตัวอย่างทฤษฎี : การระงับข้อพิพาทนอกศาล (out-of-court settlement) -3.7 นิติเศรษฐศาสตร์เชิงพฤติกรรม --3.7.1 จากแบบจำลองว่าด้วยการเลือกอย่างมีเหตุมีผล สู่ เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม --3.7.2 นิติเศรษฐศาสตร์เชิงพฤติกรรม --3.7.3 การตัดสินใจเลือกในนิติเศรษฐศาสตร์เชิงพฤติกรรม บทที่ 4 วิวาทะว่าด้วยประสิทธิภาพและความยุติธรรมในนิติเศรษฐศาสตร์ -4.1 ว่าด้วย "ประสิทธิภาพ" และ "ความยุติธรรม" -4.2 แนวคิดประสิทธิภาพในหลักเศรษฐศาสตร์ --4.2.1 แนวคิดว่าด้วยประสิทธิภาพในการจัดสรร และสวัสดิการของสังคม --4.2.2 หลักประสิทธิภาพแบบพาเรโต (Pareto Efficiency) --4.2.3 หลักประสิทธิภาพแบบคาลดอร์-ฮิกส์ (Kaldor-Hicks Efficiency) -4.3 แนวคิดความยุติธรรมในหลักนิติศาสตร์ --4.3.1 นิยามของความยุติธรรม --4.3.2 รูปแบบของความยุติธรรมในเชิงเนื้อหา --4.3.3 เกณฑ์ว่าด้วยความยุติธรรมในเชิงแบ่งสรรและกระจาย -4.4 วิวาทะว่าด้วยประสิทธิภาพและความยุติธรรม --4.4.1 ประสิทธิภาพและความยุติธรรมในฐานะที่เป็นเป้าหมายขัดแย้งกัน --4.4.2 ประสิทธิภาพและความยุติธรรมในฐานะที่เป็นเป้าหมายส่งเสริมกัน บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะว่าด้วยการทำงานร่วมกันระหว่างนักเศรษฐศาสตร์และนักนิติศาสตร์ เอกสารอ้างอิง
|