สารบัญ:
|
ปกหน้า บทคัดย่อ ABSTRACT กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของการศึกษา -1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา -1.3 ขอบเขตการศึกษา -1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -2.1 แนวคิดการเบี่ยงเบนทางสังคม (Social Deviations) -2.2 แนวคิดว่าด้วยการเป็นชายขอบ (Marginalized) -2.3 แนวคิดสิทธิมนุษยชน (Human Rights) และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (Constitution of The Kingdom of Thailand) -2.4 แนวคิดเกี่ยวกับการขับเคลื่อนทางสังคม -ตารางที่ 2.1 แสดงความแตกระหว่างขบวนการทางสังคม รูปแบบเก่าและรูปแบบใหม่ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวในการจัดทำกฎหมายการสมรสของเพศเดียวกัน -ภาพที่ 2.1 แสดงสถานภาพทางกฎหมายของคนรักเพศเดียวกันทั่วโลก -ตารางที่ 2.2 แสดงลักษณะการใช้กฎหมายการสมรสของบุคคลเพศเดียวกันในแต่ละชาติ -2.5 ทัศนะต่อการนำกฎหมาย ร่างพระราชบัญญัติการจดทะเบียนคู่ชีวิตของประชาชนในสังคมไทยมาใช้ -2.6 การขับเคลื่อนกฎหมายร่างพระราชบัญญัติการจดทะเบียนคู่ชีวิต -ภาพที่ 2.2 แสดงขั้นตอนการขับเคลื่อนกลุ่มหรือองค์กรตามหลักปรัชญาการพัฒนาในระดับปฏิบัติการ -ภาพที่ 2.3 แสดงกระบวนการของกิจกรรมการขับเคลื่อนทุนในสังคมเพื่อการพัฒนา -2.7 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีการศึกษา -3.1 วิธีการที่ใช้ในการศึกษา -3.2 กลุ่มเป้าหมายและผู้ให้ข้อมูลที่สำคัญ -3.3 แนวประเด็นสัมภาษณ์ -3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล -3.5 การวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 4 ผลการศึกษา -4.1 บริบทของบุคคลที่มีความรักเพศเดียวกัน -ตารางที่ 4.1 แสดงอัตลักษณ์ทางเพศ 18 แบบ -4.2 ข้อมูลพื้นฐานของผู้ให้ข้อมูลที่สำคัญจำนวน 25 ราย -ตารางที่ 4.2 แสดงข้อมูลพื้นฐานของบุคคลที่มีส่วนร่วมผลักดันร่าง พรบ.การจดทะเบียนคู่ชีวิตจำนวน 25 ราย -4.3 ตัวอย่างการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลที่สำคัญ -4.4 ทัศนะเกี่ยวกับร่างพระราชบัญญัติการจดทะเบียนคู่ชีวิตในประเทศไทย -ตารางที่ 4.3 แสดงประเด็นทัศนะต่อกฎหมายการสมรสของบุคคลเพศเดียวกันของผู้ริเริ่มการผลักดันร่าง พรบ.การจดทะเบียนคู่ชีวิต จำนวน 25 คน -4.5 รูปแบบและขั้นตอนการขับเคลื่อนร่างพระราชบัญญัติการจดทะเบียนคู่ชีวิต -ตารางที่ 4.4 แสดงข้อมูลการขอรับสิทธิประโยชน์ต่างๆในด้านกฎหมาย ของผู้ประสงค์จดทะเบียนคู่ชีวิต -4.6 แนวโน้ม / ความเป็นไปได้ในการพิจารณากฎหมายให้มีผลบังคับใช้ -4.7 ข้อเสนอแนะต่อร่างพระราชบัญญัติการจดทะเบียนคู่ชีวิต -ตารางที่ 4.5 แสดงรูปแบบการขับเคลื่อนร่างพระราชบัญญัติการจดทะเบียนคู่ชีวิต -ภาพที่ 4.1 แสดงขั้นตอนการขับเคลื่อนร่าง พรบ.การจดทะเบียนคู่ชีวิต บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ -5.1 สรุปการศึกษา -5.2 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผู้เขียน ปกหลัง
|