สารบัญ:
|
ปกหน้า -รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ ชุดโครงการวิจัยการติดตามและประเมินผลบังคับใช้รัฐธรรมนูญ เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติกับฝ่ายบริหารและเสถียรภาพของรัฐบาล[มนตรี รูปสุวรรณ] --คำนำ[นรนิติ เศรษฐบุตร] --คำนำ[ปิยะวัติ บุญ-หลง] --คำนำ[มนตรี รูปสุวรรณ] --สารบัญ --บทคัดย่อ ---บทที่ 1 บทนำ ----1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ----2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย ----3. สมมติฐานของการวิจัย ----4. ขอบเขตของการวิจัย ----5. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ----6. วิธีการดำเนินการวิจัย ---ส่วนที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติกับฝ่ายบริหาร ----บทที่ 2 เจตนารมณ์ในการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติกับฝ่ายบริหารตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 -----1. การควบคุมฝ่ายบริหารโดยฝ่ายนิติบัญญัติ ------1.1 การตั้งกระทู้ถาม -------1.1.1 การตั้งกระทู้ถามธรรมดา -------1.1.2 การตั้งกระทู้ถามสด ------1.2 การเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจ ------1.3 การตั้งคณะกรรมาธิการ ------1.4 การควบคุมการใช้จ่ายเงินงบประมาณของแผ่นดิน -------1.4.1 การควบคุมโดยสภา -------1.4.2 การควบคุมการใช้จ่ายเงินงบประมาณของแผ่นดินโดยผ่านองค์กรอิสระ -------1.4.3 การควบคุมการใช้จ่ายเงินงบประมาณของแผ่นดินโดยผ่านกระบวนการถอดถอน -----2. การถ่วงดุลอำนาจฝ่ายนิติบัญญัติโดยฝ่ายบริหาร ------2.1 การถ่วงดุลโดยตรง : การยุบสภาผู้แทนราษฎร ------2.2 การถ่วงดุลโดยทางอ้อม : ผ่านระบบพรรคการเมือง ----บทที่ 3 ประสิทธิภาพของการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติกับฝ่ายบริหารตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 -----1. การควบคุมฝ่ายบริหารโดยฝ่ายนิติบัญญัติ ------1.1 การตั้งกระทู้ถาม -------1.1.1 การตั้งกระทู้ถามโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร -------1.1.2 การตั้งกระทู้ถามโดยสมาชิกวุฒิสภา ------1.2 การเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจ ------1.3 การตั้งคณะกรรมาธิการ ------1.4 การควบคุมการใช้จ่ายเงินงบประมาณของแผ่นดิน -------1.4.1 การควบคุมการใช้จ่ายเงินงบประมาณของแผ่นดินโดยสภาผู้แทนราษฎร -------1.4.2 การควบคุมการใช้จ่ายเงินงบประมาณของแผ่นดินโดยวุฒิสภา -----2. การถ่วงดุลอำนาจฝ่ายนิติบัญญัติโดยฝ่ายบริหาร ------2.1 การถ่วงดุลโดยตรง : การยุบสภาผู้แทนราษฎร ------2.2 การถ่วงดุลโดยอ้อม : ระบบพรรคการเมือง ---ส่วนที่ 2 เสถียรภาพของรัฐบาล ----บทที่ 4 เจตนารมณ์ในการกำหนดมาตรการส่งเสริมเสถียรภาพรัฐบาลตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 -----1. การเสริมสร้างพรรคการเมืองให้เข้มแข็งและให้มีพรรคการเมืองน้อยพรรคในสภา ------1.1 การเสริมสร้างพรรคการเมืองให้เข้มแข็งโดยการกำหนดให้สมาชิกภาพของการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผูกพันกับการเป็นสมาชิกพรรคการเมือง ------1.2 การส่งเสริมให้มีพรรคการเมืองน้อยพรรค -----2. การเพิ่มภาวะความเป็นผู้นำให้แก่นายกรัฐมนตรี ------2.1 การกำหนดให้การเลือกนายกรัฐมนตรีต้องกระทำในที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร ------2.2 การกำหนดให้มีการอภิปรายไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีในเชิงสร้างสรรค์ -----3. การแยกอำนาจนิติบัญญัติกับอำนาจบริหารโดยการห้ามสมาชิกรัฐสภาเป็นรัฐมนตรีในขณะเดียวกัน -----4. การเพิ่มอำนาจให้แก่รัฐบาลด้วยวิธีการอื่น ๆ ------4.1 คณะรัฐมนตรีสามารถนำร่างกฎหมายที่สำคัญซึ่งไม่ผ่านสภาผู้แทนราษฎร เสนอให้รัฐสภาพิจารณาอีกครั้งหนึ่ง ------4.2 การห้ามยื่นญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจในสมัยประชุมนิติบัญญัติ ------4.3 การลดจำนวนคณะรัฐมนตรีให้มีจำนวนน้อยลง ------4.4 การให้รัฐบาลสามารถจัดตั้ง โอน หรือยุบกระทรวง ทบวง กรม ได้ง่ายขึ้น ----บทที่ 5 ประสิทธิภาพของมาตรการส่งเสริมเสถียรภาพรัฐบาลตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 -----1. การเสริมสร้างพรรคการเมืองให้เข้มแข็งและให้มีพรรคการเมืองน้อยพรรคในสภา ------1.1 การเสริมสร้างพรรคการเมืองให้เข้มแข็งโดยการกำหนดให้สมาชิกภาพของการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผูกพันกับการเป็นสมาชิกพรรคการเมือง ------1.2 การส่งเสริมให้มีพรรคการเมืองน้อยพรรค -----2. การเพิ่มภาวะความเป็นผู้นำให้แก่นายกรัฐมนตรี ------2.1 การกำหนดให้การเลือกนายกรัฐมนตรีต้องกระทำในที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร ------2.2 การกำหนดให้การอภิปรายไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีในเชิงสร้างสรรค์ -----3. การแยกอำนาจนิติบัญญัติกับอำนาจบริหารโดยการห้ามสมาชิกรัฐสภาเป็นรัฐมนตรีในขณะเดียวกัน -----4. การเพิ่มอำนาจให้แก่รัฐบาลด้วยวิธีการอื่น ๆ ------4.1 คณะรัฐมนตรีสามารถนำร่างกฎหมายที่สำคัญซึ่งไม่ผ่านสภาผู้แทนราษฎรเสนอให้รัฐสภาพิจารณาอีกครั้งหนึ่ง ------4.2 การห้ามยื่นญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจในสมัยประชุมสามัญนิติบัญญัติ ------4.3 การลดจำนวนคณะรัฐมนตรีให้มีจำนวนน้อยลง ------4.4 การให้รัฐบาลสามารถจัดตั้ง โอน หรือยุบกระทรวง ทบวง กรม ได้ง่ายขึ้น ----บทที่ 6 บทสรุปและข้อเสนอแนะ -----1. บทสรุป ------1.1 ความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติกับฝ่ายบริหาร ------1.2 เสถียรภาพของรัฐบาล -----2. ข้อเสนอแนะ ---บรรณานุกรม ---รายชื่อคณะวิจัย -ปกหลัง
|