สารบัญ:
|
ปกหน้า คำนำ บทคัดย่อ สารบัญ สารบัญตาราง บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา -1.3 ขอบเขตการศึกษา -1.4 วิธีการศึกษา -1.5 นิยามศัพท์ที่ใช้ในการศึกษา -1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีในกระบวนการสร้างความปรองดอง -2.1 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความขัดแย้ง -2.2 หลักการแนวคิดในการสร้างความปรองดอง ของอดีตประธานาธิบดี Martti Ahtisaari ของประเทศฟินแลนด์ เจ้าของรางวัลโนเบล สาขาสันติภาพ (The Nobel Peace Prize For 2008 ) -2.3 หลักความยุติธรรมในช่วงระยะเปลี่ยนผ่าน -2.4 ทฤษฎีว่าด้วยกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ -2.5 แนวคิดและทฤษฎีการบริหารความขัดแย้ง -2.6 หลักธรรมาภิบาลหรือการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี บทที่ 3 องค์ประกอบ ที่มา กรอบการดำเนินงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญ พิจารณาศึกษาแนวทางการสร้างความปรองดองแห่งชาติ -3.1 ที่มาและองค์ประกอบของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา ศึกษาแนวทางการสร้างความปรองดองแห่งชาติ -3.2 อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทาง การสร้างความปรองดองแห่งชาติ -3.3 การจัดเสวนาของคณะกรรมาธิการ -3.4 การตั้งคณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาการแก้ไขปัญหาชายแดน ภาคใต้ในคณะกรรมาธิการวิสามัญ -3.5 ผลการศึกษาของคณะกรรมาธิการ -3.6 ข้อเสนอแนะของคณะกรรมาธิการ เพื่อให้สภาผู้แทนราษฎรพิจารณา และส่งไปยังคณะรัฐมนตรี เพื่อดำเนินการต่อไป -3.7 การปฏิบัติหน้าที่ของผู้ขอรับการประเมินในการสนับสนุน การดำเนินงานของคณะกรรมาธิการ บทที่ 4 การวิเคราะห์ผลการพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการ -4.1 ความหมายและความสำคัญของการปรองดอง -4.2 ลักษณะการปรองดองของไทย -4.3 ปัญหาและอุปสรรคในการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สารบัญตาราง -ตารางเปรียบเทียบความเห็นต่อการออกพระราชบัญญัตินิรโทษกรรม -4.4 การแก้ปัญหาความขัดแย้งด้วยการนิรโทษกรรม --4.4.1 นิรโทษกรรมบนความขัดแย้ง --4.4.2 หลักกฎหมายเกี่ยวกับการนิรโทษกรรม --4.4.3 หลักกฎหมายระหว่างประเทศ (International Law) และนโยบายของสหประชาชาติ (United Nation Policy) --4.4.4 ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ (คอป.) เกี่ยวกับการนิรโทษกรรม --4.4.5 การออกกฎหมายนิรโทษกรรมในประเทศไทย -4.5 กฎหมายว่าด้วยการนิรโทษกรรมของต่างประเทศ --4.5.1 กฎหมายว่าด้วยการนิรโทษกรรมของประเทศฝรั่งเศส --4.5.2 กฎหมายว่าด้วยการนิรโทษกรรมของประเทศเยอรมนี --4.5.3 กฎหมายว่าด้วยการนิรโทษกรรมของประเทศสหรัฐอเมริกา --4.5.4 กฎหมายว่าด้วยการนิรโทษกรรมของประเทศแอฟริกาใต้ --4.5.5 การออกกฎหมายนิรโทษกรรมในต่างประเทศ -4.6 แนวทางการสร้างความปรองดองของไทย บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ -5.1 บทสรุป -5.2 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ประวัติผู้ขอรับการประเมิน ภาคผนวก ปกหลัง
|