สารบัญ:
|
ปกหน้า กิตติกรรมประกาศ บทสรุปเชิงนโยบาย (Policy Brief) บทคัดย่อ Abstract สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญคำย่อ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของการวิจัย -1.2 ความสัมพันธ์ระหว่างหลักกฎหมายสนธิสัญญา ประชาคมอาเซียน และการอนุวัติกฎหมายภายใน --1.2.1 หลักกฎหมายสนธิสัญญา ---1.2.1.1 ลักษณะทั่วไปของกฎหมายสนธิสัญญา ---1.2.1.2 กระบวนการจัดทำสนธิสัญญา ---1.2.1.3 ความสัมพันธ์ระหว่างสนธิสัญญากับกฎหมายภายใน --1.2.2 กฎบัตรอาเซียน กรอบพันธกรณีของอาเซียน และเอกสารกฎหมายอาเซียนในเรื่องเศรษฐกิจ ---1.2.2.1 กฎบัตรอาเซียน ---1.2.2.2 พันธกรณีของอาเซียนในเรื่องเศรษฐกิจ ---1.2.2.3 เอกสารกฎหมายของอาเซียน --1.2.3 กลไกการอนุวัติเป็นกฎหมายภายใน ---1.2.3.1 ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายระหว่างประเทศกับกฎหมายภายในของไทย ---1.2.3.2 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยกับการอนุวัติการกฎหมาย -1.3 วัตถุประสงค์การวิจัย -1.4 ขอบเขตการวิจัย --1.4.1 ศึกษาและวิเคราะห์กรอบกติการะหว่างประเทศที่เกี่ยวกับการรวมกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน --1.4.2 วิเคราะห์การอนุวัติตามพันธกรณีของประเทศไทยภายใต้กรอบกติกาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน --1.4.3 ศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับภาคส่วนต่าง ๆ ของไทยจากการรวมกันเป็นประชาคมอาเซียน --1.4.4 เสนอข้อปรับปรุงของระบบกฎหมายไทยที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจและการค้าเพื่อให้สอดคล้องกับการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน -1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ -1.6 โครงสร้างรายงานวิจัย บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและกรอบแนวคิดทฤษฎี -2.1 การทบทวนวรรณกรรม (Literature Review) --2.1.1 ภาพรวมของอาเซียน --2.1.2 การสำรวจงานวิจัยที่ผ่านมา --2.1.3 พัฒนาการของเสาเศรษฐกิจอาเซียน -2.2 กรอบแนวคิดทฤษฎี (Conceptual Framework) --2.2.1 แนวคิดเกี่ยวกับการรวมกลุ่มรัฐประชาคม ---2.2.1.1 สหพันธรัฐนิยม (Federalism) ---2.2.1.2 ปฏิบัติการนิยม (Functionalism) ---2.2.1.3 ปฏิบัติการนิยมแนวใหม่ (Neo-Functionalism) ---2.2.1.4 ธุรกรรมภิวัฒน์นิยม (Transactionalism) ---2.2.1.5 ธุรกรรมภิวัฒน์นิยมแนวใหม่ (Neo-Transactionalism) ---2.2.1.6 แนวคิดปฏิสัมพันธรัฐนิยม (Inter-Governmentalism) --2.2.2 กรอบความตกลงที่เกี่ยวกับเสาเศรษฐกิจอาเซียน ---2.2.2.1 ผังดำเนินการตามพิมพ์เขียวของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) ---2.2.2.2 กรอบความตกลงของ AEC ที่เป็น Hard Law ----1) กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการค้าสินค้าหรือ ATIGA -----1.1) การลดอัตราอากรศุลกากร -----1.2) หลักการไม่เลือกปฏิบัติ (Non-Discrimination) -----1.3) กรอบพิธีการทางศุลกากรภายใต้ ATIGA -----1.4) มาตรการทางการค้าที่มิใช่ศุลกากร(Non-Tariff Measures) -----1.5) การค้าสินค้าประเภทข้าวและน้ำตาล -----1.6) มาตรการคุ้มครองประโยชน์ในทางการค้า ----2) กรอบความตกลงของอาเซียนที่เกี่ยวกับการบริการ -----2.1) การบริการที่อยู่ภายใต้บังคับของ AFAS -----2.2) หลักการปฏิบัติเยี่ยงชาติที่ได้รับความอนุเคราะห์ยิ่ง (MFN Rule) -----2.3) การกำหนดข้อผูกพันกับธุรกิจบริการเป็นการเฉพาะ (Specific Commitments) -ตาราง 2.1 แสดงรูปแบบของตารางข้อผูกพันธุรกิจบริการของประเทศสมาชิกอาเซียน -----2.4) หลักการเข้าสู่ตลาด -----2.5) หลักการปฏิบัติเยี่ยงคนชาติ -----2.6) ธุรกิจบริการวิชาชีพ (Professional Services) ----3) ข้อตกลงยอมรับร่วมกันแห่งอาเซียน (MRAs) -ตาราง 2.2 แสดงสาขาวิชาชีพที่บรรลุข้อตกลงยอมรับร่วมกันของอาเซียน ----4) กรอบความตกลงของอาเซียนที่เกี่ยวกับการลงทุน -----4.1) เป้าประสงค์ของอาเซียน -----4.2) ขอบเขตความร่วมมือภายใต้ ACIA -----4.3) บทบัญญัติที่สำคัญและข้อยกเว้น -----4.4) ระบบระงับข้อพิพาทแบบ“Investor-State Arbitration” ----5) กรอบความตกลงของอาเซียนว่าด้วยอุตสาหกรรมพิเศษ ----6) กรอบความตกลงของอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านทรัพย์สินทางปัญญา -ตาราง 2.3 แสดงอุตสาหกรรมกลุ่มพิเศษ 12 สาขาของอาเซียน -----6.1) เครื่องหมายการค้า -----6.2) สิทธิบัตร -----6.3) ลิขสิทธิ์ -----6.4) การคุ้มครองพันธุ์พืช ---2.2.2.3 กรอบความตกลงของ AEC ที่เป็น Soft Law ----1) แนวปฏิบัติของอาเซียนว่าด้วยโยบายด้านการแข่งขัน ----4) ความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อม ----5) ความร่วมมือด้านการพัฒนา ----2) แผนดำเนินงานด้านทรัพย์สินทางปัญญา ----3) กรอบความร่วมมืออาเซียนเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3 ระเบียบวิธีการวิจัย -3.1 แนวทางและวิธีการวิจัย -3.2 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล --3.2.1 การวิจัยเอกสาร โดยเฉพาะการวิจัยกฎหมาย --3.2.2 การเก็บข้อมูลด้วยการจัดประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group) --3.2.3 การรวบรวมข้อมูลทางสถิติ --3.2.4 การวิเคราะห์เอกสารอื่น ๆ บทที่ 4 ผลการวิจัย -4.1 กรอบพันธกรณีภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของไทย --4.1.1 เศรษฐกิจที่มีการรวมตัวและเชื่อมโยงกันในระดับสูง ---4.1.1.1 การค้าสินค้า (Trade in Goods) ---4.1.1.2 การค้าบริการ (Trade in Services) ---4.1.1.3 สภาพแวดล้อมด้านการลงทุน (Investment Environment) ---4.1.1.4 การรวมตัวภาคการเงิน การเข้าถึงบริการทางการเงิน และเสถียรภาพทางการเงิน (Financial Integration, FinancialInclusion, and Financial Stability) ---4.1.1.5 อำนวยความสะดวกการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือและผู้ติดต่อทางธุรกิจ (Facilitating Movement of Skilled Labour andBusiness Visitors) -ตาราง 4.1 แสดงพันธกรณีเรื่องการเคลื่อนย้ายเสรีของแรงงานฝีมือที่มีการจัดทำข้อตกลงยอมรับร่วมกัน ---4.1.1.6 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมในห่วงโซ่มูลค่าโลก (EnhancingParticipation in Global Value Chains) --4.1.2 อาเซียนที่มีความสามารถในการแข่งขัน มีนวัตกรรม และมีพลวัต ---4.1.2.1 นโยบายด้านการแข่งขันที่มีประสิทธิภาพ (Effective Competition Policy) ---4.1.2.2 การคุ้มครองผู้บริโภค (Consumer Protection) ---4.1.2.3 การเสริมสร้างความร่วมมือด้านสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา(Strengthening Intellectual Property Cooperation) ----1) การบริหารจัดการของสำนักงานทรัพย์สินทางปัญญาในประเทศสมาชิกอาเซียน ----2) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านทรัพย์สินทางปัญญาในระดับภูมิภาคอาเซียน ----3) การพัฒนาศักยภาพอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา ----4) การส่งเสริมการสร้างสรรค์และการใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญาในเชิงพาณิชย์ ---4.1.2.4 การเติบโตซึ่งขับเคลื่อนด้วยผลิตภาพ นวัตกรรม การวิจัยและพัฒนา และการนำ เทคโนโลยีมาใช้ในเชิงพาณิชย์(Productivity-Driven Growth, Innovation, Research andDevelopment, and Technology Cooperation) ---4.1.2.5 ความร่วมมือด้านภาษีอากร (Taxation Cooperation) ---4.1.2.6 ธรรมาภิบาล (Good Governance) ---4.1.2.7 กฎระเบียบที่มีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ความสอดคล้องและการตอบสนอง และแนวปฏิบัติที่ดีด้านกฎระเบียบ(Effective, Efficient, Coherent and Responsive Regulations, and Good Regulatory Practice) ---4.1.2.8 การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน(Sustainable Economic Development) --4.1.3 ความเชื่อมโยง และความร่วมมือรายสาขาที่เพิ่มมากขึ้น ---4.1.2.9 แนวโน้มสำคัญของโลกและประเด็นใหม่ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการค้า(Global Megatrends and Emerging Trade-Related Issues) ---4.1.3.1 การขนส่ง (Transport) ---4.1.3.2 โทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ(Information and Communication Technology) ---4.1.3.3 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) ---4.1.3.4 พลังงาน (Energy) ---4.1.3.5 อาหาร การเกษตร และป่าไม้(Food, Agriculture and Forestry) ---4.1.3.6 การท่องเที่ยว (Toursim) ---4.1.3.7 สุขภาพ (Heathcare) ---4.1.3.8 แร่ธาตุ (Minterals) ---4.1.3.9 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Science and Technology) --4.1.4 การเป็นภูมิภาคที่มีความสามารถในการปรับตัวครอบคลุมทุกภาคส่วนให้ความสำคัญกับประชาชนและมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง ---4.1.4.1 การเสริมสร้างบทบาทของวิสาหกิจขนาดกลาง ขนาดย่อมและรายย่อยให้เข้มแข็ง (Strengthening the Role of Micro,Small, and Medium Enterprises) ---4.1.4.2 การเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่บทบาทของภาคเอกชน(Strengthening the Role of the Private Sector) ---4.1.4.3 ความเป็นหุ้นส่วนระหว่างภาครัฐกับภาคเอกชน(Public-Private Partnership) ---4.1.4.4 การลดช่องว่างการพัฒนา(Narrowing the Development Gap) ---4.1.4.5 การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียในการดำเนินการรวมกลุ่มของภูมิภาค(Contribution of Stakeholders on Regional Integration Efforts) --4.1.5 การเป็นส่วนสำคัญของประชาคมโลก --4.1.6 บทสรุป -4.2 ประโยชน์และผลกระทบจากการเข้าเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของไทย --4.2.1 ผลกระทบต่อภาครัฐ ---4.2.1.1 ผลกระทบต่อการปรับระบบกฎหมายของรัฐประชาคม ----1) สถานะของอาเซียนในฐานะองค์การระหว่างประเทศ ---4.2.1.2 ผลกระทบต่อการกำหนดนโยบายและการบัญญัติกฎหมาย ----2) มาตรฐานขั้นต่ำที่ประเทศไทยต้องปฏิบัติ ----3) วิสัยทัศน์ในการเชื่อมโยงเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจโลก ----4) การสร้างระบบที่เอื้อต่อการพัฒนาในระยะยาวของประเทศ ---4.2.1.3 การรับมือกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง ----1) กรณีที่ปัจจัยการผลิตเคลื่อนย้ายเข้ามาในประเทศไทย ----2) กรณีที่ปัจจัยการผลิตเคลื่อนย้ายออกนอกประเทศไทย ---4.2.1.4 ผลกระทบต่อการปฏิบัติหน้าที่ขององค์กรรัฐ ----1) การจัดระบบฐานข้อมูล ----2) การออกคำสั่งของเจ้าพนักงาน ----3) การระงับข้อพิพาทและการใช้อำนาจตุลาการ --4.2.2 ผลกระทบต่อภาคเอกชน ---4.2.2.1 นักลงทุนและผู้ประกอบการ ---4.2.2.2 ผู้ให้บริการ ---4.2.2.3 แรงงานมีฝีมือ ---4.2.2.4 ผู้บริโภค --4.2.3 ผลกระทบด้านอื่น ๆ ---4.2.3.1 ผลกระทบต่อสถาบันการศึกษา ---4.2.3.2 บทบาทขององค์กรลำดับรอง ---4.2.3.3 ผลกระทบเกี่ยวกับสถาบันครอบครัว ---4.2.3.4 บทบาทของรัฐในการบริหารจัดการกับความไม่แน่นอนทางการเมืองภายในรัฐ ---4.2.3.5 ผลกระทบต่อเสาหลักอื่นของอาเซียน ---4.2.3.6 ผลกระทบเกี่ยวกับบทบาทการเป็นผู้นำในอาเซียนของไทย -4.3 การปรับปรุงกฎหมายเศรษฐกิจและการค้าของไทย และข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนากฎหมายของไทยเพื่อเสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ --4.3.1 การค้าสินค้าตาม AEC Blueprint 2025 ข้อ A.1 ---4.3.1.1 ความสอดคล้องของกฎหมายไทยกับประเด็นเรื่องการค้าสินค้าของ AEC ----1) กฎหมายเกี่ยวกับพิกัดอัตราศุลกากร ----2) กฎหมายว่าด้วยศุลกากร ----3) กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดของสินค้า ----4) มาตรการคุ้มกันทางการค้า ---4.3.1.2 ข้อเสนอแนะการพัฒนากฎหมายเพื่ออำนวยความสะดวกทางการค้า ----1) เหตุผลและความจำเป็นในการตรากฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ ----2) การตรากฎหมายไทยตามอนุสัญญาว่าด้วยสัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ ---4.3.1.3 ประเด็นเรื่องการปรับปรุงระบบต่าง ๆ เพื่อสร้างช่องทางในทางการค้า --4.3.2 การค้าบริการตาม AEC Blueprint 2025 ข้อ A.2 ---4.3.2.1 ความสอดคล้องของกฎหมายไทยกับประเด็นเรื่องการค้าบริการของ AEC ---4.3.2.2 ข้อเสนอแนะการปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวกับการค้าบริการเพื่อเสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ และสอดคล้องกับหลักกฎหมายของอาเซียน ----1) กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว -----1.1) ปัญหาเกี่ยวกับคำนิยามของ “คนต่างด้าว”ตามมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ.2542 -----1.2) ประเด็นเกี่ยวกับการอนุญาตให้คนต่างด้าวเข้ามาประกอบอาชีพ ----2) กลุ่มกฎหมายที่เกี่ยวกับการเปิดเสรีบริการด้านการขนส่ง -----2.1) พระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. 2522 -----2.2) พระราชบัญญัติรถยนต์ พ.ศ. 2522 -----2.3) พระราชบัญญัติเรือไทย พ.ศ. 2481 -----2.4) พระราชบัญญัติส่งเสริมการพาณิชย์นาวี พ.ศ. 2521 -----2.5) พระราชบัญญัติการรถไฟแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2494 -----2.6) พระราชบัญญัติการรถไฟขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยพ.ศ. 2543 -----2.7) พระราชบัญญัติการขนส่งทางอากาศ พ.ศ. 2497 -----2.8) พระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2521และพระราชกฤษฎีกาที่เกี่ยวข้อง ----3) กลุ่มกฎหมายที่เกี่ยวกับบริการด้านการก่อสร้าง ----4) กลุ่มกฎหมายที่เกี่ยวกับการเปิดเสรีบริการการศึกษา -----4.1) พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546และประมวลกฎหมายที่ดิน -----4.2) พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550 ----5) การท่องเที่ยว -----5.1) ประเด็นตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติธุรกิจนำเที่ยวฯ -----5.2) ประเด็นตามมาตรา 17 แห่งพระราชบัญญัติธุรกิจนำเที่ยวฯ ----6) กฎหมายที่เกี่ยวกับการเปิดเสรีบริการด้านกีฬา --4.3.3 สภาพแวดล้อมด้านการลงทุนตาม AEC Blueprint 2025 ข้อ A.3 ---4.3.3.1 ความสอดคล้องของระบบกฎหมายไทยกับประเด็นเรื่องสภาพแวดล้อมด้านการลงทุนของ AEC ---4.3.3.2 ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาระบบกฎหมายไทยที่เกี่ยวกับการลงทุน ----1) พระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 ----2) พระราชบัญญัติการเช่าอสังหาริมทรัพย์เพื่อพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2542 ----3) พระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยพ.ศ. 2522 และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ----4) การตรากฎหมายว่าด้วยประกันภัยทางทะเลเพื่อ คุ้มครองการลงทุน -----4.1) ความจำเป็นในการตรากฎหมายว่าด้วยประกันภัยทางทะเล -----4.2) ปัญหาในการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยประกันภัยทางทะเลในประเทศไทย -----4.3) แนวทางการตรากฎหมายว่าด้วยประกันภัยทางทะเลในประเทศไทย ----6) การระงับข้อพิพาทคดีเกี่ยวกับการลงทุน และพระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 ----5) การตรากฎหมายเกี่ยวกับสัญชาติของนักลงทุนอาเซียนในอนาคต --4.3.4 การรวมตัวภาคการเงิน การเข้าถึงบริการทางการเงิน และเสถียรภาพทางการเงินตาม AEC Blueprint 2025 ข้อ A.4 --4.3.5 การอำนวยความสะดวกการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือและผู้ติดต่อทางธุรกิจตาม AEC Blueprint 2025 ข้อ A.5 --4.3.6 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมในห่วงโซ่มูลค่าโลกตาม AEC Blueprint 2025ข้อ A.6 --4.3.7 นโยบายด้านการแข่งขันที่มีประสิทธิภาพตาม AEC Blueprint 2025ข้อ B.1 ---4.3.7.1 การประกาศใช้กฎหมายการแข่นขันทางการค้า ---4.3.7.2 การแก้ไขและพัฒนาระบบกฎหมายแข่งขันทางการค้าเพื่อยกระดับและศักยภาพการบังคับใช้ ----1) มาตรา 25 ผู้มีอำนาจเหนือตลาด ----2) มาตรา 26 การควบรวมกิจการอย่างไม่เป็นธรรม ----3) มาตรา 27 การตั้งข้อตกลงร่วมกันอย่างไม่เป็นธรรม ----4) มาตรา 29 การปฏิบัติทางการค้าอย่างไม่เป็นธรรม ---4.3.7.3 การพัฒนาระบบกฎหมายแข่งขันทางการค้าให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ของประเทศและหลักเกณฑ์สากล --4.3.8 การคุ้มครองผู้บริโภคตาม AEC Blueprint 2025 ข้อ B.2 --4.3.9 การเสริมสร้างความร่วมมือด้านสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาตาม AEC Blueprint 2025 ข้อ B.3 ---4.3.9.1 การเข้าเป็นภาคีพิธีสารกรุงมาดริด ----1) พิธีสารกรุงมาดริด (Madrid Protocol) ----2) ความจำเป็นในการเข้าเป็นภาคีพิธีสารมาดริดของไทย -ตาราง 4.2 แสดงผลกระทบต่อระบบกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาของไทย ----3) ผลกระทบต่อระบบกฎหมายไทย ----1) อนุสัญญากรุงเฮก (Hague Agreement) ---4.3.9.2 การสร้างระบบการจดทะเบียนการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่เป็นสากล ----2) เหตุผลและความจำเป็นในการเข้าเป็นภาคีอนุสัญญากรุงเฮก ----3) ผลกระทบต่อพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ---4.3.9.3 การทบทวนประเด็นด้านการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาอื่นภายใต้ AEC --4.3.10 การเติบโตซึ่งขับเคลื่อนด้วยผลิตภาพ นวัตกรรม การวิจัยและพัฒนา และการนำเทคโนโลยีมาใช้ในเชิงพาณิชย์ตาม AEC Blueprint 2025 ข้อ B.4 --4.3.11 ความร่วมมือด้านภาษีอากรตาม AEC Blueprint 2025 ข้อ B.5 -ตาราง 4.3 ข้อตกลงเรื่องการเสียภาษีซ้อนระหว่างไทยกับสมาชิกอาเซียน --4.3.12 ธรรมาภิบาลตาม AEC Blueprint 2025 ข้อ B.6 --4.3.13 กฎระเบียบที่มีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ความสอดคล้องและการตอบสนองและแนวปฏิบัติที่ดีด้านกฎระเบียบตาม AEC Blueprint 2025 ข้อ B.7 --4.3.14 การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนตาม AEC Blueprint 2025 ข้อ B.8 --4.3.15 แนวโน้มสำคัญของโลกและประเด็นใหม่ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการค้าตาม AEC Blueprint 2025 ข้อ B.9 --4.3.16 การขนส่งตาม AEC Blueprint 2025 ข้อ C.1 --4.3.17 โทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศตาม AEC Blueprint 2025 ข้อ C.2 --4.3.18 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ตาม AEC Blueprint 2025 ข้อ C.3 --4.3.19 พลังงานตาม AEC Blueprint 2025 ข้อ C.4 --ร การเกษตรและป่าไม้ตาม AEC Blueprint 2025 ข้อ C.5 --4.3.21 การท่องเที่ยวตาม AEC Blueprint 2025 ข้อ C.6 --4.3.22 สุขภาพตาม AEC Blueprint 2025 ข้อ C.7 --4.3.23 แร่ธาตุตาม AEC Blueprint 2025 ข้อ C.8 --4.3.24 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตาม AEC Blueprint 2025 ข้อ C.9 --4.3.25 การเสริมสร้างบทบาทของวิสาหกิจขนาดกลาง ขนาดย่อมและรายย่อยให้เข้มแข็งตาม AEC Blueprint 2025 ข้อ D.1 --4.3.26 การเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่บทบาทของภาคเอกชนตาม AEC Blueprint 2025 ข้อ D.2 --4.3.27 ความเป็นหุ้นส่วนระหว่างภาครัฐและเอกชนตาม AEC Blueprint 2025ข้อ D.3 --4.3.28 การลดช่องว่างการพัฒนาตาม AEC Blueprint 2025 ข้อ D.4 --4.3.29 การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียในการดำเนินงานการรวมกลุ่มของภูมิภาคตาม AEC Blueprint 2025 ข้อ D.5 --4.3.30 การเป็นส่วนสำคัญของประชาคมโลกตาม AEC Blueprint 2025 ข้อ E ---4.3.30.1 ประเด็นการมีส่วนร่วมกับภายนอกภูมิภาค ----2) หุ้นส่วนทางเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น (ASEAN-JapanComprehensive Economic Partnership: AJCEP) ----3) เขตการค้าเสรีอาเซียน-สาธารณรัฐเกาหลี (ASEAN-KoreaFree Trade Agreement) ----1) เขตการค้าเสรีอาเซียน-จีน (ASEAN-China Free TradeAgreement) ----4) เขตการค้าเสรีอาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์(Agreement Establishing the ASEAN-Australia-New Zealand Free Trade Area: AANZFTA) ----5) เขตการค้าเสรีอาเซียน-อินเดีย (ASEAN-India FreeTrade Area: AIFTA) ----6) เขตการค้าเสรีระหว่างประเทศไทยกับต่างประเทศ ---4.3.30.2 ประเด็นเรื่องการยกระดับความมีส่วนร่วมในประชาคมโลก ---4.3.30.3 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบูรณาการประชาคมอาเซียนเข้ากับระบบเศรษฐกิจโลก ----1) การเพิ่มบทบาทในเวทีการค้าระหว่างประเทศ ----2) การชั่งน้ำหนักระหว่างประโยชน์และผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ -5.1 สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผล --5.1.1 ประชาคมอาเซียน และพันธกรณีภายใต้เสาเศรษฐกิจของอาเซียน --5.1.2 ความสัมพันธ์ระหว่างประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และการอนุวัติกฎหมายภายในตามหลักกฎหมายสนธิสัญญา --5.1.3 พันธกรณีระหว่างประเทศภายใต้เสาเศรษฐกิจของอาเซียน (AEC) --5.1.4 ความสอดคล้องของระบบกฎหมายภายในของประเทศไทยกับพันธกรณีตามเสาเศรษฐกิจของอาเซียน (AEC) และแนวทางการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย --5.1.5 ประโยชน์และผลกระทบจากการเข้าเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน -5.2 ข้อเสนอแนะ : การพัฒนากฎหมายภายในของไทยให้ดียิ่งขึ้นและเป็นไปตามหลักการของกฎหมายระหว่างประเทศ กฎหมายอาเซียน และสอดคล้องกับบริบทของประเทศไทย คู่มือ (Guideline) สรุปการทบทวนกฎหมายของไทยเพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ปี ค.ศ. 2025 บรรณานุกรม ประวัติผู้วิจัย ปกหลัง
|