สารบัญ:
|
ปกหน้า บทคัดย่อ Abstract คำนำ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญแผนภูมิ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -1.2 วัตถุประสงค์ในการศึกษา -1.3 วิธีการศึกษาและการเก็บรวบรวมข้อมูล -1.4 วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล -1.5 ขอบเขตการศึกษา --1.5.1 ขอบเขตด้านเวลา --1.5.2 ขอบเขตด้านเนื้อหา --1.5.3 ขอบเขตด้านจำนวนประเทศ -1.6 กรอบแนวคิดในการศึกษา -1.7 นิยามศัพท์ -1.8 ข้อกำหนดในการศึกษา -1.9 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง -2.1 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในการกำหนดที่มาของพระมหากษัตริย์ --2.1.1 แนวคิดของอาณาจักรยุคโบราณสำหรับความเชื่อและการนับถือต่อเทพเจ้าในการกำหนดที่มาของพระมหากษัตริย์ --2.1.2 แนวคิดของนักปรัชญาการเมืองในสมัยอาณาจักรกรีกยุคโบราณในการกำหนดที่มาของพระมหากษัตริย์ --2.1.3 แนวคิดทฤษฎีเทวสิทธิ์ของพระมหากษัตริย์ (Theory of The Divine Right of Kings) ในการกำหนดที่มาของพระมหากษัตริย์ซึ่งเกี่ยวข้องกับแนวคิดทางศาสนาคริสต์ --2.1.4 แนวคิดอาณัติจากสวรรค์ (Mandate of Heaven) ในการกำหนดที่มาของพระมหากษัตริย์ --2.1.5 แนวคิดทางศาสนาพราหมณ์-ฮินดูในการกำหนดที่มาของพระมหากษัตริย์ --2.1.6 แนวคิดทางศาสนาชินโตในการกำหนดที่มาของพระมหากษัตริย์ --2.1.7 แนวคิดทางศาสนาอิสลามในการกำหนดที่มาของพระมหากษัตริย์ --2.1.8 แนวคิดทางศาสนายูดาห์ในการกำหนดที่มาของพระมหากษัตริย์ --2.1.9 แนวคิดทางศาสนาพุทธแบบดั้งเดิมตามพระไตรปิฎกในการกำหนดที่มาของพระมหากษัตริย์ --2.1.10 แนวคิดทางศาสนาพุทธแบบธรรมราชาในการกำหนดที่มาของพระมหากษัตริย์ --2.1.11 แนวคิดสำนักคิดประเพณีและแนวคิดเอนกนิกรสโมสรสมมติในการกำหนดที่มาของพระมหากษัตริย์ --2.1.12 แนวคิดเรื่อง อุภโตสุชาติในการกำหนดที่มาของพระมหากษัตริย์ --2.1.13 แนวคิดเรื่อง บิดาปกครองบุตรในการกำหนดที่มาของพระมหากษัตริย์ -2.2 บทวิเคราะห์แนวคิดและทฤษฎีในการกำหนดที่มาของพระมหากษัตริย์ -2.3 การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 ความเป็นมา เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องและสถานภาพของกฎมณเฑียรบาล -3.1 การบัญญัติคำว่า "กฎมณเฑียรบาล" -3.2 ความเป็นมาของกฎมณเฑียรบาล -ตารางที่ 1 พระราชพิธีสิบสองเดือนที่กำหนดในกฎมณเฑียรบาลสมัยกรุงศรีอยุธยา -แผนภูมิที่ 1 โครงสร้างกฎมณเฑียรบาลสมัยกรุงศรีอยุธยา -3.3 เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับกฎมณเฑียรบาล -ตารางที่ 2 ลักษณะการลงโทษและฐานความผิดที่กำหนดในกฎมณเฑียรบาลสมัยกรุงศรีอยุธยา -3.4 กฎมณเฑียรบาลของราชอาณาจักรอื่นในภูมิภาค --3.4.1 กฎมณเฑียรบาลราชอาณาจักรกัมพูชา -ตารางที่ 3 การเปรียบเทียบกฎมณเฑียรบาลสมัยกรุงศรีอยุธยาและกฎมณเฑียรบาลราชอาณาจักรกัมพูชา --3.4.2 กฎมณเฑียรบาลราชอาณาจักรพม่า -3.5 สถานภาพของกฎมณเฑียรบาล -3.6 คุณูปการของกฎมณเฑียรบาลที่มีต่อสังคมไทยในด้านวิชาการ บทที่ 4 กฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์และกระบวนการสืบราชสมบัติของต่างประเทศ -4.1 แนวคิดในการสืบราชสมบัติ -4.2 ประเทศที่มีการบัญญัติและไม่มีการบัญญัติกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ในรัฐธรรมนูญ -4.3 กระบวนการสืบราชสมบัติของต่างประเทศ --4.3.1 ประเทศอังกฤษ (สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ) --4.3.2 ประเทศเดนมาร์ก --4.3.3 ประเทศเบลเยียม --4.3.4 ประเทศนอร์เวย์ --4.3.5 ประเทศเนเธอร์แลนด์ --4.3.6 ประเทศสวีเดน --4.3.7 ประเทศลักเซมเบิร์ก --4.3.8 ประเทศสเปน --4.3.9 ประเทศโมนาโก --4.3.10 ประเทศลิกเตนสไตน์ --4.3.11 ประเทศอันดอร์รา --4.3.12 ประเทศโมร็อกโก --4.3.13 ประเทศสวาซิแลนด์ --4.3.14 ประเทศเลโซโท --4.3.15 ประเทศตองกา --4.3.16 ประเทศกาตาร์ --4.3.17 ประเทศคูเวต --4.3.18 ประเทศจอร์แดน --4.3.19 ประเทศซาอุดีอาระเบีย --4.3.20 ประเทศบาห์เรน --4.3.21 ประเทศโอมาน --4.3.22 ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ --4.3.23 ประเทศญี่ปุ่น --4.3.24 ประเทศบรูไนดารุสซาลาม --4.3.25 ประเทศภูฏาน --4.3.26 ประเทศมาเลเซีย --4.3.27 ประเทศกัมพูชา -4.4 บทวิเคราะห์การสืบราชสมบัติจากกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์และกระบวนการสืบราชสมบัติของต่างประเทศ --4.4.1 หลักเชื้อชาติหรือสัญชาติ --4.4.2 หลักสายโลหิต --4.4.3 หลักศาสนา --4.4.4 หลักสภาวะทางเพศ --4.4.5 หลักอายุขัยและวาระการครองราชสมบัติ --4.4.6 หลักการเสกสมรส --4.4.7 หลักการปฏิญาณก่อนทรงราชย์ --4.4.8 หลักการเลือกตั้งหรือหลักการหมุนเวียนตำแหน่ง --4.4.9 หลักการมีส่วนร่วมของรัฐสภาและสถาบันอื่น -ตารางที่ 4 การจำแนกแนวคิดในการสืบราชสมบัติของต่างประเทศ บทที่ 5 กฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 -5.1 ความเป็นมาของกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 -5.2 กระบวนการตรากฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 -แผนภูมิที่ 2 ลำดับเวลาการตรากฎมณเฑียรบลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 -5.3 สาระสำคัญของกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 -5.4 การดำเนินการตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 ในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ พ.ศ. 2468 -ตารางที่ 5 รายพระนามพระราชโอรสและผู้สืบเชื้อสายที่เป็นบุรุษในรัชกาลที่ 5 และสมเด็จพระอัครมเหสีที่เกี่ยวข้องกับลำดับสืบราชสมบัติระหว่างสมัยรัชกาลที่ 5-รัชกาลที่ 7 -5.5 แนวคิดการแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 ในสมัยรัชกาลที่ 7 -5.6 บทวิเคราะห์พระราชกิจของรัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7 สำหรับกระบวนการสืบราชสมบัติและกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 -5.7 การกำหนดกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 ในรัฐธรรมนูญไทย -แผนภูมิที่ 3 ขั้นตอนการทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 บทที่ 6 บทวิเคราะห์พัฒนาการของการบัญญัติกฎมณเฑียรบาลในรัฐธรรมนูญไทย -ตารางที่ 6 การบัญญัติกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 ในรัฐธรรมนูญไทย จำนวน 13 ฉบับ -6.1 การใช้ถ้อยคำที่สำคัญ -6.2 การแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 -แผนภูมิที่ 4 ขั้นตอนการแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 -แผนภูมิที่ 5 ขั้นตอนการแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 พุทธศักราช 2511 -แผนภูมิที่ 6 ขั้นตอนการแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511 กรณีพระมหากษัตริย์ทรงใช้พระราชอำนาจให้มีการออกเสียงประชามติตามความในมาตรา 170 -แผนภูมิที่ 7 ขั้นตอนการแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลว่าวด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511 กรณีพระมหากษัตริย์ไม่ทรงเห็นชอบตามความในมาตรา 75 -แผนภูมิที่ 8 ขั้นตอนการแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 กรณีพระมหากษัตริย์ทรงใช้พระราชอำนาจให้มีการออกเสียงประชามติตามความในมาตรา 229 -แผนภูมิที่ 9 ขั้นตอนการแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 กรณีพระมหากษัตริย์ไม่ทรงเห็นชอบตามความในมาตรา 99 -แผนภูมิที่ 11 ขั้นตอนการแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521 -แผนภูมิที่ 12 ขั้นตอนการแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521 กรณีพระมหากษัตริย์ไม่ทรงเห็นชอบตามความในมาตรา 78 -แผนภูมิที่ 13 ขั้นตอนการแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 -6.3 รูปแบบการแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 -6.4 การยกเลิกกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 -6.5 บทบาทและหน้าที่ของคณะรัฐมนตรี -6.6 บทบาทและหน้าที่ของคณะองคมนตรี -6.7 บทบาทและหน้าที่ของรัฐสภาที่การรับทราบหรือการให้ความเห็นชอบสำหรับการทรงราชย์ -6.8 การเสนอพระนามพระราชธิดาเพื่อทรงราชย์ -6.9 บทบาทและหน้าที่ของประธานรัฐสภา -6.10 บทบาทและหน้าที่ของวุฒิสภาในกรณีไม่มีสภาผู้แทนราษฎร -6.11 การบรรลุนิติภาวะของพระมหากษัตริย์ -6.12 องค์กรที่จัดทำลำดับผู้สืบราชสันตติวงศ์ -6.13 การพิจารณาบทบัญญัติเกี่ยวกับกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 -6.14 บทบัญญัติของกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 ที่ไม่สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ -ตารางที่ 7 บทบัญญัติของกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 บางมาตราที่ไม่อาจมีสภาพบังคับในบางส่วนหรือทั้งหมดแล้ว -6.15 ความคล้ายและความแตกต่างระหว่างกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 กับพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ บทที่ 7 การดำเนินการตามกฎมณเฑียรบาลที่บัญญัติในรัฐธรรมนูญไทย -7.1 การดำเนินการตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 ในรัฐธรรมนูญ ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2477 -ตารางที่ 8 รายพระนามพระราชโอรสในรัชกาลที่ 5 ที่มีสกุลยศเป็นสมเด็จเจ้าฟ้าและพระราชวงศ์อื่นเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับลำดับสืบราชสมบัติภายหลังรัชกาลที่ 7 ทรงสละราชสมบัติ -บัญชีลำดับสืบราชสันตติวงศ์ตาหนังสือกระทรวงวัง ลับ ที่ 130/3061 ลงวันที่ 4 มีนาคม พุทธศักราช 2477 -7.2 การดำเนินการตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 ในรัฐธรรมนูญ ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2489 -7.3 ข้อสังเกตสำหรับการดำเนินการตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 ในรัฐธรรมนูญ -7.4 ความสัมพันธ์ระหว่างกฎมณเฑียรบาลในสมัยต่าง ๆ ที่มีต่อการสืบราชสมบัติและรัฐธรรมนูญ -7.5 คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 บทที่ 8 บทสรุปและอภิปรายผล บรรณานุกรม ภาคผนวก -ภาคผนวก ก คำปฏิญาณของจอมพล สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ วันที่ 28 ตุลาคม 2453 -ภาคผนวก ข เอกสารที่สันนิษฐานว่าเป็น คำปฏิญาณของจอมพล สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ ในวันที่ 21 พฤศจิกายน 2453 -ภาคผนวก ค ความในรายงานประชุมเสนาบดี วันที่ 21 พฤศจิกายน 2453 -ภาคผนวก ง บันทึกเรื่อง กฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ลงวันที่ 25 มกราคม 2466 หน้าที่ 1 -ภาคผนวก จ หนังสือกรมร่างกฎหมาย ที่ 64/116 ลงวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พระพุทธศักราช 2466 -ภาคผนวก ฉ หนังสือกรมร่างกฎหมาย ที่ 63/115 ลงวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พระพุทธศักราช 2466 -ภาคผนวก ช หนังสือ ที่ 76/531 ลงวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2466 -ภาคผนวก ซ กฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 -ภาคผนวก ฌ หนังสือสั่งเสนาบดีวัง เรื่อง สืบสันตติวงศ์และตั้งพระอัฐิ ลงวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2468 -ภาคผนวก ญ รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 33/2477 (ประชุมวิสามัญ สมัยสามัญ สมัยที่ 2) วันพุธ-พฤหัสบดี ที่ 6-7 มีนาคม พุทธศักราช 2477 -ภาคผนวก ฎ บัญชีรายพระนามพระมหาอุปราช กรมพระราชวังบวรสถานมงคล และสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช
|