สารบัญ:
|
ปก บทสรุปสำหรับผู้บริหาร กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ Abstract สารบัญ รายการสัญลักษณ์และคำย่อ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย -1.3 ขอบเขตของการวิจัย -1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ -1.5 นิยามศัพท์ บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและกรอบแนวคิดทฤษฎี -2.1 การทบทวนวรรณกรรม --2.1.1 สนธิสัญญาระหว่างประเทศ กฎหมายสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปกป้องสินค้าอาหารไทยของประเทศไทยและกลุ่มประเทศที่เลือกศึกษา ---2.1.1.1 สนธิสัญญาระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการปกป้องสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์และภูมิปัญญาท้องถิ่น ----(1) กติกาว่าด้วยพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ค.ศ. 1966 ขององค์การสหประชาชาติเพื่อการปกป้องภูมิปัญญาท้องถิ่น ----(2) ความตกลงทริปส์ขององค์การการค้าโลกเพื่อการปกป้องสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ----(3) บทบาทกติกาว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ค.ศ. 1966 และความตกลงทริปส์กับการบัญญัติกฎหมายสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ---2.1.1.2 มาตรการกฎหมายสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปกป้องสินค้าอาหารไทยของประเทศไทยและกลุ่มประเทศที่เลือกศึกษา ----(1) พระราชบัญญัติคุ้มครองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ พ.ศ. 2546 ของประเทศไทยกับการปกป้องสินค้าอาหารไทย สารบัญภาพ -ภาพที่ 2.1 ตราสัญลักษณ์สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ไทย -ภาพที่ 2.2 สินค้าขนมหม้อแกงเมืองเพชรแม่สมาน ----(2) มาตรการกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาฉบับอื่นและกฎหมายวัฒนธรรมของประเทศไทยต่อการปกป้องสินค้าอาหารไทย -----1) พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 -----2) พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม พ.ศ. 2559 ----(3) มาตรการกฎหมายสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ของกลุ่มประเทศที่เลือกศึกษากับการปกป้องสินค้าอาหาร -----1) พระราชบัญญัติ Laws of Malaysia Act 602 Geographical Indications Act 2000 ของประเทศมาเลเซีย สารบัญตาราง -ตารางที่ 2.1 ประเภทสินค้าขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ -ภาพที่ 2.3 ตราสัญลักษณ์สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ประเทศมาเลเซีย -----2) กฎระเบียบ Government Regulation of The Republic of Indonesia Number 51 Year 2007 Regarding Geographical Indications ของประเทศอินโดนีเซีย -ภาพที่ 2.4 ตราสัญลักษณ์สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ประเทศอินโดนีเซีย -----3) พระราชบัญญัติ The Geographical Indications Bill 2014 ของประเทศสิงคโปร์ -----4) พระราชบัญญัติ The Geographical Indications of goods (Registration and Protection) Act 1999 ของประเทศอินเดีย -ภาพที่ 2.5 ตัวอย่างฉลากสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ขึ้นทะเบียนประเทศอินเดีย -2.2 แนวคิดทฤษฎีด้านทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวข้อง --2.2.1 ทฤษฎีนิติบุคคลโดยสภาพเพื่อยืนยันความเป็นประธานแห่งสิทธิของชุมชน --2.2.2 แนวคิดสิทธิชุมชนเพื่อความเป็นเจ้าของทรัพย์สินทางปัญญา --2.2.3 ทฤษฎีการกำหนดใจด้วยตนเอง (self-determination theory) เพื่อการบริหารจัดการทรัพย์สินโดยชุมชน --2.2.4 ความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีนิติบุคคลโดยสภาพ แนวคิดสิทธิชุมชนและทฤษฎีการกำหนดใจด้วยตนเองตามพระราชบัญญัติคุ้มครองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ พ.ศ. 2546 -ภาพที่ 2.6 โครงสร้างความสัมพันธ์แนวคิดทฤษฎีตามพระราชบัญญัติคุ้มครองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ พ.ศ. 2546 บทที่ 3 ระเบียบวิธีการวิจัย -3.1 แนวทางและวิธีการวิจัย -ภาพที่ 3.1 ความสัมพันธ์ของตัวแปรในกรอบความคิดในการวิจัย -3.2 แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา -3.6 วิธีการรวบรวมข้อมูล -3.4 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย -3.5 การวิเคราะห์ข้อมูล -ภาพที่ 3.2 อุปกรณ์ช่วยเก็บข้อมูลภาคสนาม -ภาพที่ 3.3 กระบวนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงวัฏจักร บทที่ 4 ผลการวิจัย -4.1 มาตรการกฎหมายสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์เพื่อการปกป้องสินค้าผลผลิตจากภูมิปัญญาท้องถิ่นและสินค้าอาหารไทย --4.1.1 มาตรการกฎหมายสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมของประเทศไทย -ภาพที่ 4.1 มาตรการกฎหมายสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ของกลุ่มประเทศที่เลือกศึกษา -ตารางที่ 4.1 ตารางแสดงความแตกต่างระหว่างเครื่องหมายการค้าและสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ --4.1.2 ลักษณะสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ตามกฎหมาย -ตารางที่ 4.2 ลักษณะสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์เปรียบเทียบ --4.1.3 สินค้าตามกฎหมายสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ -ตารางที่ 4.3 สินค้าตามกฎหมายสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์เปรียบเทียบ --4.1.4 แหล่งภูมิศาสตร์ตามกฎหมายสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ --4.1.5 การได้รับความคุ้มครองทับซ้อนกับบทบัญญัติกฎหมายอื่น -ตารางที่ 4.4 เครื่องหมายการค้าของสินค้าขนม Sarawak Layered Cake -4.2 มาตรการกฎหมายสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์เพื่อการปกป้องภูมิปัญญาท้องถิ่นสินค้าอาหารไทยที่สอดคล้องกับความตกลงทริปส์ และรองรับการเกิดประชาคมเศรษฐอาเซียน AEC --4.2.1 การคงอยู่หรือสูญหายของภูมิปัญญาท้องถิ่น -ภาพที่ 4.2 ความสัมพันธ์ระหว่างมาตรการกฎหมายสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์กับสินค้าที่เกิดจากภูมิปัญญาท้องถิ่น --4.2.2 การเป็นพหุวัฒนธรรมของสินค้าอาหารไทย --4.2.3 การสืบทอดและส่งต่อภูมิปัญญาท้องถิ่น -ภาพที่ 4.3 การผลิตสินค้าขนมหม้อแกงเมืองเพชร กลุ่มขนมหวานพื้นบ้านแม่เพชรสมาน จังหวัดเพชรบุรี -4.3 มาตรการกฎหมายสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ไทยเพื่อรองรับสิทธิชุมชนตามกรอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย --4.3.1 ชุมชนท้องถิ่นเป็นเจ้าของสิทธิตามพระราชบัญญัติคุ้มครองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ พ.ศ. 2546 --4.3.2 สิทธิชุมชนเพื่อผูกขาดผลประโยชน์ทางการค้าตามพระราชบัญญัติคุ้มครองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ พ.ศ. 2546 --4.3.3 ความสัมพันธ์หลักการรักษาสมดุลประโยชน์ของชุมชนและประโยชน์สาธารณะตามพระราชบัญญัติคุ้มครองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ พ.ศ. 2546 กับหลักประโยชน์สาธารณะตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ -ภาพที่ 4.4 โครงสร้างลำดับความสำคัญของสิทธิตามพระราชบัญญัติคุ้มครองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ พ.ศ. 2546 บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ -5.1 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล -5.2 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก -ภาคผนวก ก AGREEMENT ON TRADE-RELATED ASPECTS OF INTELLECTUAL PROPERTY RIGHTS -ภาคผนวก ข ตารางแสดงสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์จดทะเบียนในประเทศไทย -ภาคผนวก ค ตารางแสดงสิ่งบ่งชี้ททางภูมิศาสตร์จดทะเบียนในประเทศมาเลเซีย -ภาคผนวก ง ตารางแสดงสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์จดทะเบียนในประเทศอินโดนีเซีย -ภาคผนวก จ ถอดเทปการสัมมนาระดมความเห็นปัญหาอุปสรรคการใช้กฎหมายสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์เพื่อปกป้องภูมิปัญญาท้องถิ่นสินค้าอาหาร
|