สารบัญ:
|
ปกหน้า คำนำ สารบัญ บทที่ 1 หลักเศรษฐศาสตร์ยว่าด้วยการแสดงรายได้ทรัพย์สินและหนี้สินแนวคิดและประสบการณ์ของต่างประเทศ -1.1 หลักเศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการแสดงรายได้ทรัพย์สินและหนี้สิน -1.2 แนวคิดและประสบการณ์การแสดงรายได้และการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินของต่างประเทศ -1.3 ตัวอย่างการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินของต่างประเทศ บทที่ 2 การตรวจสอบบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของไทย -2.1 ความเป็นมาของการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินของไทย -2.2 ผู้มีหน้าที่ยื่นบัญชีแสดงรายการแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน -2.3 กำหนดเวลาการยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน -2.4 การแสดงหรือแจ้งรายการทรัพย์สิน -2.5 รายการทรัพย์สินและหนี้สินที่ต้องแสดง -2.6 การดำเนินการของคณะกรรมการ ป.ป.ช. -2.7 บทกำหนดโทษ -2.8 สถิติการยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ และการส่งเรื่องให้ศาลวินิจฉัยว่าผู้ยื่นบัญชีจงใจกระทำความผิดต่อกฎหมาย บทที่ 3 ความขัดแย้งระหว่างข้อกำหนดทางกฎหมายกับประสิทธิภาพการตรวจสอบในเชิงเศรษฐศาสตร์ -3.1 ความซ้ำซ้อนของข้อมูลการยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน -3.2 ผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ กับการติดกับดักของกฎหมาย -3.3 การตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินแบบภาพนิ่งและการตรวจสอบย้อนหลัง -3.4 การตรวจสอบทุกบัญชีทำนองเดียวกับการไต่สวนผู้ถูกกล่าวหาในคดีอาญา -3.5 ประสิทธิภาพบทบัญญัติของกฎหมายที่ใช้ในการตรวจสอบ บทที่ 4 การบริหารจัดการตรวจสอบบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน -4.1 โครงสร้างการบริหารจัดการ -4.2 ผลการดำเนินงานด้านการตรวจสอบทรัพย์สิน -4.3 การใช้จ่ายงบประมาณด้านการตรวจสอบทรัพย์สินระหว่างปีงบประมาณ 2555 - 2557 -4.4 วิเคราะห์ต้นทุนในการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สิน (เฉพาะการตรวจสอบแบบปกติ) -4.5 ปัญหาอื่น ๆ เกี่ยวกับการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สิน บทที่ 5 แนวทางการปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน บทที่ 6 คดีตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินที่สำคัญ บรรณานุกรม บทสรุป โดย ผศ.ดร.สุจิตรา ชำนิวิกรย์กรณ์ บทวิจารณ์ โดย คุณพิศิษฐ์ ลีลาวชิโรภาส บทวิจารณ์ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.อัจนา ไวความดี ภาคผนวก -ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ -เรื่อง แบบบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2554 ปกหลัง
|