สารบัญ:
|
ปกหน้า สารบัญ บทสรุปผู้บริหาร Executive Summary บทนำ -1. หลักการและเหตุผล -2. วัตถุประสงค์ -3. ขอบเขตการศึกษาและวิธีการศึกษา -4. กรอบแนวคิดในการศึกษา -5. การทบทวนวรรณกรรม -6. ประเด็นคำถามในการสัมภาษณ์เชิงลึก -7. รูปแบบการจัดประชุมระดมสมอง (Focus Group) บทที่ 1 สถานการณ์และสภาพปัญหาทั่วไปและเฉพาะของแรงงานไร้ฝีมือข้ามชาติในอาเซียน -1.1 สถานการณ์และสภาพปัญหาของแรงงานไร้ฝีมือข้ามชาติโดยภาพรวมในอาเซียน --1.1.1 สถานการณ์ของแรงงานไร้ฝีมือข้ามชาติในอาเซียน --1.1.2 สภาพปัญหาของแรงงานไร้ฝีมือข้ามชาติในอาเซียน -1.2 สถานการณ์และสภาพปัญหาของแรงงานไร้ฝีมือข้ามชาติที่มีลักษณะเฉพาะในประเทศสมาชิกอาเซียน --1.2.1 สถานการณ์และสภาพปัญหาของแรงงานไร้ฝีมือข้ามชาติในกลุ่มประเทศกรณีศึกษา ---1.2.1.1 สาธารณรัฐสิงคโปร์ ---1.2.1.2 สาธารณรัฐแห่งสภาพเมียนมา ---1.2.1.3 ราชอาณาจักรไทย --1.2.2 สถานการณ์และสภาพปัญหาของแรงงานไร้ฝีมือข้ามชาติในกลุ่มประเทศอื่นที่เป็นบริบทกรณีศึกษา ---1.2.2.1 ราชอาณาจักรกัมพูชา ---1.2.2.2 สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ---1.2.2.3 สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม บทที่ 2 พันธกรณีและนโยบายของประเทศสมาชิกอาเซียนเกี่ยวกับแรงงานไร้ฝีมือข้ามชาติ -2.1 พันธกรณีและนโยบายทั่วไปด้านแรงงานไร้ฝีมือข้ามชาติภายใต้ประชาคมอาเซียน --2.1.1 แผนการรองรับการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ : นโยบายหลักในการจัดการด้านแรงงานในประชาคมอาเซียน ---2.1.1.1 กฎบัตรอาเซียนกับนโยบายแรงงานข้ามชาติ ---2.1.1.2 ข้อตกลงร่วมต่าง ๆ ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับนโยบายและพันธกิจของรัฐสมาชิกเรื่องการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ --2.1.2 แนวทางการดำเนินงานด้านแรงงานไร้ฝีมือข้ามชาติภายใต้วิสัยทัศน์ประชาคมอาเซียน 2568 (ASEAN 2025: Forging Ahead Together) -2.2 พันธกิจและนโยบายเฉพาะเพื่อการบริหารจัดการแรงงานไร้ฝีมือข้ามชาติในอาเซียน --2.2.1 ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยการคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิของแรงงานข้ามชาติ (ASEAN Declaration on the Protection and Promotion of the Rights of Migrant Workers, Cebu, Philippines, 13 January 2007) --2.2.2 กรณีศึกษาการดำเนินงานด้านแรงงานไร้ฝีมือข้ามชาติระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาภายใต้รูปแบบความร่วมมือทวิภาคี ---2.2.2.1 กระบวนการในการดำเนินการ ---2.2.2.2 หลักการร่วมกันในการบริหารจัดการแรงงานไร้ฝีมือ บทที่ 3 ประเด็นปัญหาด้านแรงงานไร้ฝีมือข้ามชาติในอาเซียน -3.1 ปัญหาด้านการบริหารจัดการแรงงานไร้ฝีมือข้ามชาติในระดับนโยบายรัฐและความร่วมมือระหว่างประเทศ --3.1.1 ข้อพิจารณาจากกลุ่มประเทศกรณีศึกษาที่เป็นผู้นำเข้าแรงงานไร้ฝีมือข้ามชาติ : สาธารณรัฐสิงคโปร์และราชอาณาจักรไทย --3.1.2 ข้อพิจารณาจากกลุ่มประเทศผู้ส่งออกแรงงานไร้ฝีมือข้ามชาติ : กลุ่มประเทศ CLMV -3.2 ปัญหาที่เป็นผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจอันเนื่องมาจากการใช้แรงงานไร้ฝีมือข้ามชาติ --3.2.1 ข้อพิจารณาจากกลุ่มประเทศกรณีศึกษาที่เป็นผู้นำเข้าแรงงานไร้ฝีมือข้ามชาติ : สาธารณรัฐสิงคโปร์และราชอาณาจักรไทย --3.2.2 ข้อพิจารณาจากกลุ่มประเทศผู้ส่งออกแรงงานไร้ฝีมือข้ามชาติ : กลุ่มประเทศ CLMV -3.3 ปัญหาเกี่ยวกับการเข้าเมืองและการหลบหนีเข้าเมืองของแรงงานไร้ฝีมือข้ามชาติ -3.4 ปัญหาเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิแรงงานไร้ฝีมือข้ามชาติ --3.4.1 การเลือกปฏิบัติ --3.4.2 การแรงงานสัมพันธ์ -3.5 ภาพรวมของประเด็นปัญหาด้านแรงงานไร้ฝีมือข้ามชาติในอาเซียนและบริบทข้อพิจารณาอื่น ๆ เพื่อการแก้ปัญหาแรงงานไร้ฝีมือในภูมิภาค บทที่ 4 แนวทางในการแก้ไขปัญหาแรงงานไร้ฝีมือข้ามชาติในประเทศไทยภายใต้กรอบการดำเนินการทางกฎหมาย -4.1 กลไกในส่วนที่ว่าด้วยการเข้าเมืองและการอยู่ในราชอาณาจักรของแรงงานไร้ฝีมือข้ามชาติ --4.1.1 การป้องกันและการปราบปรามการเข้าเมืองผิดกฎหมายภายใต้กฎหมายเกี่ยวกับคนเข้าเมือง ---4.1.1.1 หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการเข้ามาในราชอาณาจักรไทย ---4.1.1.2 วิธีปฏิบัติและโทษกรณีฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง ---4.1.1.3 ดุลพินิจของฝ่ายปกครองกับการเข้ามาในเขตดินแดน --4.1.2 การควบคุมการใช้แรงงานต่างด้าว -4.2 ความคุ้มครองแรงงานข้ามชาติภายใต้หลักการปฏิบัติขั้นต่ำและการคุ้มครองแรงงานพื้นฐาน -4.3 มาตรการสนับสนุนอื่นที่ทำให้กลไกทางกฎหมายเพื่อการป้องกันและปราบปรามแรงงานไร้ฝีมือข้ามชาติสัมฤทธิ์ผลแท้จริง บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ -5.1 บทสรุปการวิเคราะห์สถานการณ์และสภาพปัญหาของแรงงานไร้ฝีมือข้ามชาติในอาเซียนและประเทศกรณีศึกษา แนวทางการดำเนินงานในระดับระหว่างประเทศและระดับภูมิภาค -5.2 การวิเคราะห์แนวทางในการแก้ไขปัญหาแรงงานไร้ฝีมือข้ามชาติในประเทศไทยภายใต้กรอบการดำเนินการทางกฎหมาย : บทสรุปและข้อเสนอแนะ เอกสารอ้างอิง ภาคผนวก -ภาคผนวก 1 แบบสัมภาษณ์เชิงลึก -ภาคผนวก 2 การประชุมระดมสมอง (Focus Group) ปกหลัง
|