สารบัญ:
|
ปกหน้า บทสรุปผู้บริหาร สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -1. ความเป็นมา -2. วัตถุประสงค์ -3. กรอบการพิจารณา -4. วิธีการพิจารณา บทที่ 2 การพิจารณาศึกษากรณีเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ กรณีนายมิตสุโตกิ ชิเกตะ ชาวญี่ปุ่น บทที่ 3 พิจารณาศึกษากรณีเด็กที่เกิดจากเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ กรณีนางสาวปทิตตา กุศลสร้าง ร้องขอให้ติดตามบุตรที่เกิดจากการรับจ้างตั้งครรภ์แทนกลับคืน บทที่ 4 พิจารณาศึกษาเกี่ยวกับกรณีเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ที่ตกค้างในประเทศไทย ศึกษากรณีประเทศออสเตรเลีย บทที่ 5 พิจารณาศึกษาเกี่ยวกับกรณีเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธ์ทางการแพทย์ที่ตกค้างในประเทศไทย ศึกษากรณีประเทศอิสราเอล บทที่ 6 ศึกษาร่างประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 บทที่ 7 สรุปผลการพิจารณาของคณะกรรมาธิการวิสามัญ ข้อเสนอของคณะกรรมาธิการวิสามัญ ภาคผนวก -1. ญัตติเรื่อง ขอเสนอตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษามาตรการคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ที่ตกค้างในประเทศไทย -2. บันทึกข้อความ เรื่อง ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษามาตรการคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ที่ตกค้างในประเทศไทย -3. คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมาธิการวิสามัญติดตามกรณีเด็กที่้เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ที่ตกค้างในประเทศไทย -4. คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาร่างประกาศที่ต้องออกตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 -5. พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 -6. หนังสือขอความช่วยเหลือของนางสาวปทิตตา กุศลสร้าง ร้องขอให้ติดตามบุตรที่เกิดจากการตั้งครรภ์แทนกลับคืน -7. หนังสือขอความช่วยเหลือของนายกอร์ดอน อัลแลน เลก ที่สาม กรณีไม่สามารถนำบุตรที่เกิดจากการตั้งครรภ์แทนกลับประเทศได้ -8. หนังสือแจ้งผลการพิจารณาของคณะกรรมาธิการวิสามัญ --นางสาวปทิตตา กุศลสร้าง --นายกอร์ดอน อัลแลน เลก ที่สาม -9. เอกสารข่าวต่างประเทศ -10. หนังสือเสนอมาตรการคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ปกหลัง หนังสือนำ
|