สารบัญ:
|
ปกหน้า คำนำ สารประธานวุฒิสภา พลตรี มนูญกฤต รูปขจร สารรองประธานวุฒิสภา คนที่หนึ่ง นายสุชน ชาลีเครือ สารรองประธานวุฒิสภา คนที่สอง นายสาหัส พินทุเสนีย์ สิงหาคม ๒๕๔๓ -สิงหาคม ๒๕๔๔ นายแพทย์ประสิทธิ์ พิทูรกิจจา สารประธานคณะกรรมาธิการการสาธารณสุข วุฒิสภา สิงหาคม ๒๕๔๔ -กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖ แพทย์หญิงมาลินี สุขเวชชวรกิจ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖ -สิงหาคม ๒๕๔๖ นายแพทย์วีรพงศ์ สกลกิติวัฒน์ สารประธานที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ศ.นพ.ประสพ รัตนากร สารประธานคณะทำงาน นายแพทย์ชิต เจริญประเสริฐ บทสรุปผู้บริหาร โครงสร้างคณะกรรมาธิการการสาธารณสุข วุฒิสภา สารบัญ ๑. การพิจารณากฎหมาย ๑.๑ พิจารณาศึกษาแนวทางในการขอแก้ไขประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๐๕ ๑.๒ ร่างพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ..) พ.ศ..... ๑.๓ ร่างพระราชบัญญัติวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ พ.ศ.... ๑.๔ ร่างพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.... ๑.๕ ร่างพระราชบัญญัติการสาธารณสุข (ฉบับที่ ..) พ.ศ.... ๑.๖ ร่างพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ... ๒.การพิจารณาศึกษาและติดตามการดำเนินงานด้านสาธารณสุข ๒.๑ พิจารณาตามกรณีทุจริตจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ในกระทรวงสาธารณสุข ๒.๒ พิจารณาศึกษาการบริหาร การป้องกัน และแก้ไขปัญหาเอดส์ ๒.๓ พิจารณาศึกษากรณีการโยกย้ายข้าราชการในกระทรวงสาธารณสุข ๒.๔ พิจารณาศึกษาการป้องกันอุบัติเหตุจราจรทางบกในประเทศไทย ๒.๕ พิจารณาศึกษาการดำเนินงานด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ๒.๖ พิจารณาศึกษาปรับปรุงการปฐมพยาบาลฟื้นคืนชีวิตและดูแลผู้ป่วยเบื้องต้นในรัฐสภา ๒.๗ พิจารณาศึกษาปัญหาการใช้ยา ๒.๘ พิจารณาติดตามผลการปฏิบัติงานโครงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ๓๐ บาท รักษาทุกโรค และการดำเนินงานตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๕ ๒.๙ พิจารณาศึกษาการลดภาวะที่เป็นอันตรายจากการใช้ยาเสพติด ๒.๑๐ พิจารณาศึกษาเกี่ยวกับเครื่องดื่มและผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของกาแฟอีนจาเดิม ๕๐ มิลลิกรัมเป็น ๘๐ มิลลิกรัม ต่อหน่วยบรรจุจากผู้ประกอบการผลิตเพื่อจำหน่าย ๒.๑๑ พิจารณาศึกษาเรื่องโรคซาร์ส ๓. การพิจารณาเรื่องร้องเรียนและการตรวจสอบงานด้านสาธารณสุขที่มีผลกระทบต่อประชาชน ๓.๑ พิจารณาเรื่องร้องเรียนทางด้านบริหารในทางการแพทย์และการสาธารณสุข ๓.๒ พิจารณากรณีผลกระทบจากการปนเปื้อนของสารตะกั่วบริเวณลุ่มน้ำแม่กลองตอนบนลำห้วยคลิตี้ ๓.๔ พิจารณากรณีการป้องกันและแก้ปัญหาจากการทำศัลยกรรมตกแต่งที่ไม่ได้มาตรฐาน ๓.๓ พิจารณากรณีผลกระทบจากเสียงรบกวนของเรือหางยาว ในคลองบางกอกน้อย ๓.๕ พิจารณากรณีเด็กตกเตียงเสียชีวิต ณ โรงพยาบาลลาดพร้าว ๔. การพิจารณาศึกษาเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องทางด้านสาธารณสุข ๔.๑ การดำเนินงานโครงการฝึกอบรมด้านโรคเอดส์และสุขอนามัยวัยเจริญพันธุ์ ในองค์การบริหารส่วนตำบลให้แก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ใน ๑๑ จังหวัด และบทบาทภารกิจของ AFPPD รวมทั้งการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับรัฐสภาไทย ๔.๓ พิจารณาศึกษากรณีการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ๔.๒ พิจารณาศึกษากรณีสงครามชีวภาพ ๔.๕ พิจารณาศึกษาการแปรรูปโรงงานยาสูบ ๔.๔ พิจารณาศึกษาบทบาทหน้าที่ของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพ (สสส.) ๔.๗ พิจารณาศึกษาโครงการการศึกษาต่อเนื่องของแพทย์ (CME) ๔.๖ พิจารณาศึกษาโครงสร้างของกรมสุขภาพจิตและปัญหายาเสพติด ๔.๘ พิจารณาศึกษาการเปิดเสรีทางการค้าด้านการบริการขององค์การค้าโลก (WTO) ๔.๙ พิจารณาศึกษากรณีพนักงานของรัฐในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ๕. การจัดการสัมมนาของคณะกรรมาธิการการสาธารณสุข วุฒิสภา ๕.๑ เรื่อง "ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า" วันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๔๕ ๕.๒ เรื่อง "เงื่อนไขและความเป็นไปได้ในการใช้มาตรการังคับใช้สิทธิในประเทศไทยวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๔๕" ๕.๓ เรื่อง "รัฐบาลควรแปรรูปโรงงานยาสูบหรือไม่" วันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๔๕ ๕.๔ เรื่อง "พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพ" วันที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๔๕ ๖. การเดินทางไปศึกษาดูงาน ณ ต่างประเทศ ๖.๑ สาธารณรัฐเกาหลี วันที่ ๑๑- ๑๕ สิงหาคม ๒๕๔๔ ๖.๒ สาธารณรัฐประชาชนจีน วันที่ ๑๒- ๑๗ มิถุนายน ๒๕๔๕ ๖.๓ สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ วันที่ ๒๑- ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๔๕ ๖.๔ สาธารณรัฐเช็ก/ออสเตรีย/ฮังการี วันที่ ๒๑- ๒๘ มกราคม ๒๕๔๖ ๖.๕ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ วันที่ ๑๖- ๒๑ มิถุนายน ๒๕๔๖ ๗. รายนามผู้ชี้แจง ปกหลัง
|