สารบัญ:
|
ปกหน้า คำนำ บทคัดย่อ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ 1. สภาพปัญหา 2. วัตถุประสงค์ 3. ขอบเขตของการวิจัย 4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 5. นิยามศัพท์ในการวิจัย บทที่ 2 กรอบความคิดเชิงทฤษฎีและการทบทวนวรรณกรรม 1. คำจำกัดความของการทุจริตในระบบราชการ 2. สาเหตุของการทุจริตในระบบราชการ 3. ประเภทและวิธีการในการทุจริตในระบบราชการ 4. ความพยายามในการแก้ไขปัญหาการทุจริตในระบบราชการ 5. งานวิจัยและเอกสารที่เกี่ยวข้อง 6. สมมติฐาน 7. กรอบความคิดในการวิเคราะห์การทุจริตในระบบการเมืองและวงราชการไทย 8. วิธีดำเนินการวิจัย บทที่ 3 โครงสร้างการจัดซื้อจัดจ้างกับการตรวจสอบการทุจริต -1. โครงสร้างการจัดซื้อจัดจ้างของราชการ --การจัดทำงบประมาณเพื่อการจัดซื้อจัดจ้าง --การดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง ---1. วิธีการจัดซื้อจัดจ้าง ---2. ขั้นตอนในการจัดซื้อจัดจ้าง ----2.1 ขั้นตอนของการเสนอให้มีการจัดซื้อหรือจัดจ้าง ----2.2 ขั้นตอนในการอนุมัติการจัดซื้อจัดจ้างและการทำสัญญา -----1. อำนาจดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง -----2. คณะกรรมการที่เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง -----3. สิ่งที่ส่วนราชการต้องตรวจสอบในการจัดซื้อจัดจ้าง -----4. การทำสัญญาซื้อหรือจ้าง -----5. การส่งข้อมูลการจัดซื้อหรือจ้างให้หน่วยงานตรวจสอบ ----2.3 ขั้นตอนการตรวจรับ และการใช้สิทธิตามเงื่อนไขแห่งสัญญา -2. การตรวจสอบการจัดซื้อจัดจ้างของราชการ --(1) การควบคุมในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง ---1. คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ (กวพ.) ---2. กระทรวงอุตสาหกรรม ---3. สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน --(2) การควบคุมนอกกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง ---1. องค์กรฝ่ายนิติบัญญัติ ---2. องค์กรฝ่ายบริหารตามกฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน --(3) องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ---ก. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (คณะกรรมการ ป.ป.ช.) ---ข. ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา ---ค. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน --(4) องค์กรเอกชน บทที่ 4 รูปแบบ กระบวนการ และผลกระทบของการทุจริต -1. รูปแบบและกระบวนการของการทุจริต --(1) การทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างของราชการปรากฏอยู่ในระบบการใช้อำนาจรัฐที่ขาดคุณธรรมและจริยธรรม --(2) การทุจริตเกิดจากการอาศัยช่องว่างของกฎหมาย --(3) การทุจริตมีที่มาจากความอ่อนแอของระบบตรวจสอบ --(4) การทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างเป็นเรื่องของการสมคบกันระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐกับธุรกิจของเอกชน -2. ผลกระทบของการทุจริต --ก. ผลกระทบของการทุจริตที่มีต่อการบริหารราชการ --ข. ผลกระทบทางด้านการเมือง --ค. ผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ --ง. ผลกระทบทางด้านสังคม บทที่ 5 ปัญหาและอุปสรรคในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต -ส่วนที่ 1 ปัญหาและอุปสรรคในเชิงป้องกัน --1. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำงบประมาณ --2. กฎหมายกำหนดราคากลาง --3. กระบวนการในการใช้ดุลพินิจและความรับผิดชอบ --4. ปัญหาการตรวจสอบจากภายนอกและกฎหมายที่เกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชน -ส่วนที่ 2 ปัญหาและอุปสรรคในเชิงปราบปราม --1. ปัญหาของระบบกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม --2. ปัญหาในการบริหารการตรวจสอบ --3. ปัญหาการมีส่วนร่วมในการตรวจสอบของภาคเอกชนและประชาสังคม บทที่ 6 บทสรุปและข้อเสนอแนะ -1. บทสรุป -2. ข้อเสนอแนะ --1) แก้ไขปรับปรุงกฎหมาย --2) ปฏิรูประบบตรวจสอบการทุจริตให้มีความเข้มแข็ง --3) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคเอกชน บรรณานุกรม
|