สารบัญ:
|
ปกหน้า กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ Abstract สารบัญ บทที่ 1 ความเป็นมาและปัญหาของกระบวนการนิติบัญญัติของรัฐสภาไทย -ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -ขอบเขตของการวิจัย (Scope of Research) -วัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัย (Objective of Research) -วิธีดำเนินการวิจัย (Methodology) -ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ (Application) บทที่ 2 แนวความคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 กระบวนการนิติบัญญัติของรัฐสภาไทย -การเสนอร่างพระราชบัญญัติโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร -การเสนอร่างพระราชบัญญัติโดยคณะรัฐมนตรี -การเสนอร่างพระราชบัญญัติโดยประชาชน -การเข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัติโดยการจัดการของคณะกรรมการการเลือกตั้ง -การบรรจุร่างพระราชบัญญัติในระเบียบวาระการประชุม -การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติโดยสภาผู้แทนราษฎร --1. การพิจารณาวาระที่หนึ่ง ขั้นรับหลักการ ---1.1 การพิจารณาโดยคณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎร --2. การพิจารณาวาระที่สองเรียงมาตรา --3. การพิจารณาวาระที่สาม ขั้นการให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบ -การพิจารณาโดยวุฒิสภา --1. การพิจารณาวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ --2. การพิจารณาโดยคณะกรรมาธิการ --3. การพิจารณาในวาระที่สาม -การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติเวนคืนที่ดิน -การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี --1. การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณฯ ในส่วนสภาผู้แทนราษฎร --2. การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณฯ โดยวุฒิสภา -การนำร่างพระราชบัญญัติขึ้นทูลเกล้าฯ ถวาย บทที่ 4 ข้อเสนอแนะต่อกระบวนการนิติบัญญัติจากสมาชิกรัฐสภาข้าราชการรัฐสภา และนักวิชาการกับผู้ศึกษาอื่น -ข้อเสนอแนะของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาต่อกระบวนการนิติบัญญัติ -ข้อเสนอแนะของข้าราชการรัฐสภาต่อกระบวนการนิติบัญญัติ -ข้อเสนอแนะของนักวิชาการและผู้ศึกษาอื่น ๆ ต่อกระบวนการนิติบัญญัติ บทที่ 5 วิธีการแก้ไขปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการนิติบัญญัติของรัฐสภาไทย -1. ขั้นตอนของผู้เสนอและฝ่ายบริหารก่อนจะนำเสนอรัฐสภา -2. การเสนอร่างพระราชบัญญัติโดยคณะรัฐมนตรี -3. การเสนอร่างพระราชบัญญัติโดยประชาชน บทที่ 6 บทสรุป บรรณานุกรม ภาคผนวก -แบบสอบถามที่ใช้ในการวิจัย
|