สารบัญ:
|
ปกหน้า บทคัดย่อ Abstract สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ประวัติความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย -1.3 ขอบเขตของการวิจัย -1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวความคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -2.1 แนวความคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง --2.1.1 แนวความคิดเกี่ยวกับงบประมาณ ---2.1.1.1 แนวความคิดในการจัดสรรงบประมาณของต่างประเทศ ----ก. ประเทศที่เป็นรัฐเดี่ยว -----(1) ประเทศฝรั่งเศส -----(2) ประเทศอังกฤษ ----ข. ประเทศที่เป็นสหพันธรัฐ -----(1) สหรัฐอเมริกา -----(2) สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน ---2.1.1.2 หลักรายจ่ายต้องเฉพาะเจาะจง --2.1.2 แนวความคิดเกี่ยวกับการกระจายอำนาจ ---2.1.2.1 ความหมายของการกระจายอำนาจ ---2.1.2.2 การคลังท้องถิ่น -2.2 ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย -3.1 วิธีดำเนินการวิจัย -3.2 ขั้นตอนในการดำเนินงานวิจัย -3.3 ประชากร และกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา -3.4 ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย -3.5 วิธีวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 4 การจัดสรรงบประมาณของประเทศไทยกับงบพัฒนาจังหวัด -4.1 การจัดสรรงบประมาณในประเทศไทย --4.1.1 การจัดทำงบประมาณ (Budget Preparation) --4.1.2 การอนุมัติงบประมาณ -4.2 กระบวนการจัดสรรงบประมาณในประเทศไทยเปรียบเทียบกับต่างประเทศ -4.3 งบพัฒนาจังหวัดในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี -4.4 ความสัมพันธ์ระหว่างงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบกับงบพัฒนาจังหวัด บทที่ 5 การนำเสนอและการวิเคราะห์ข้อมูล -5.1 สภาพทั่วไปของจังหวัดขอนแก่น ลำปาง และสมุทรสงคราม --5.1.1 จังหวัดขอนแก่น --5.1.2 จังหวัดลำปาง --5.1.3 จังหวัดสมุทรสงคราม -5.2 ลักษณะของโครงการงบพัฒนาจังหวัด --5.2.1 จังหวัดขอนแก่น --5.2.2 จังหวัดลำปาง --5.2.3 จังหวัดสมุทรสงคราม -5.3 การวิเคราะห์ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง --5.3.1 ความคิดเห็นของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร --5.3.2 ความคิดเห็นของบุคคลอื่น ๆ -5.4 การวิเคราะห์กระบวนการงบประมาณและงบพัฒนาจังหวัด --5.4.1 ข้อบกพร่องในทางรัฐธรรมนูญ --5.4.2 ข้อบกพร่องในทางกฎหมายการคลัง --5.4.3 ข้อบกพร่องในการบริหารงบพัฒนาจังหวัด บทที่ 6 ข้อเสนอแนะและบทสรุป -6.1 การยกเลิกงบพัฒนาจังหวัดของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีบทบาทในกระบวนการจัดทำงบประมาณมากขึ้น -6.1.1 การเปิดโอกาสให้สมาชิกสภาผู้สภาผู้แทนราษฎรสามารถเสนอความต้องการของประชาชนในพื้นที่ต่อสำนักงบประมาณได้ -6.1.2 การเปิดโอกาสให้พรรคการเมืองต่าง ๆ สามารถเสนอความต้องการของประชาชนต่อสำนักงบประมาณได้ -6.2 การนำงบพัฒนาจังหวัดของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไปให้แก่องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น --6.2.1 การนำงบพัฒนาจังหวัดของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไปให้แก่องค์การบริหารส่วนตำบล --6.2.2 การจัดตั้งกองทุนเพื่อพัฒนาท้องถิ่น -6.3 บทสรุป บรรณานุกรม ภาคผนวก -ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการดำเนินการโครงการพัฒนาพิเศษตามข้อเสนอของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร -ระเบียบสำนักงบประมาณว่าด้วยการใช้จ่ายงบประมาณตามโครงการพัฒนาจังหวัดของส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจตามข้อเสนอของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2537 -ตัวอย่างแบบสอบถาม
|