สารบัญ:
|
ปกหน้า รายชื่อสมาชิกกลุ่มที่1 คำนำ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -วัตถุประสงค์ของการศึกษา -ขอบเขตการศึกษา -ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ -วิธีการศึกษา บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง -หลักการแบ่งแยกอำนาจ (Separation of Power) -ประวัติข้อบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวข้อง -บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 (เฉพาะด้านการเงิน การคลัง และด้านงบประมาณ) -บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 (เฉพาะด้านการเงิน การคลัง และด้านงบประมาณ) -เจตนารมณ์ของการตรารัฐธรรมนูญในมาตราที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 ผลกระทบต่อการปฏิบัติราชการของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร -สภาพทั่วไป --กระบวนการงบประมาณของไทย --การจัดเตรียมงบประมาณรายจ่าย (budget Expenditures) --การอนุมัติงบประมาณของรัฐสภา --การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรแบ่งการพิจารณาออกเป็น 3 วาระ --การแปรญัตติ ยึดหลักเกณฑ์สำคัญในการพิจารณา -ผลกระทบ --ผลกระทบตามมาตรา 167 วรรคสาม --ผลกระทบตามมาตรา 168 วรรคแปด และ วรรคเก้า --ผลกระทบตามมาตรา 169 วรรคสาม --ผลกระทบตามมาตรา 170 --ผลกระทบตามมาตรา 305 (4) -ปัญหาที่เกิดกับการปฏิบัติราชการตามผลกระทบ ข้อ 2 --ปัญหาระบบงบประมาณ --ปัญหาระบบการเงิน --ระบบตรวจสอบ --ปัญหาการมีวินัยทางการเงิน การคลังฯ บทที่ 4 แนวทางในการดำเนินการให้เป็นไปตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 -แนวทางการในการดำเนินการให้องค์กรฝ่ายนิติบัญญัติ มีอิสระในด้านการงบประมาณและการบริหารราชการ --ตารางที่ 1 งบประมาณที่สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรได้รับจัดสรรและผลการใช้จ่ายงบประมาณ ในระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2548-2552 --ตารางที่ 2 งบประมาณที่สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรได้รับจัดสรรน้อยกว่าคำของบประมาณ -แนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพ และสัมฤทธิ์ผลในการปฏิบัติราชการของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เพื่อตอบสนองบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 --การกำหนดกรอบวินัยการเงินการคลังขององค์การฝ่ายนิติบัญญัติ --การกำหนดแผนการเงินระยะปานกลาง (MTEF) บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ -บทสรุป -ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ปกหลัง
|