สารบัญ:
|
ปกหน้า คำนำ บทคัดย่อ สารบัญ บทที่ ๑ บทนำ -ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -วัตถุประสงค์ -ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ -ขอบเขตการศึกษา -วิธีการศึกษา -นิยามศัพท์ บทที่ ๒ ทฤษฎี แนวคิด ระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับองค์กรในการพิจารณาอนุมัติงบประมาณแผ่นดิน -ทฤษฎีการแบ่งแยกอำนาจ (SEPARATION POWERS) -ทฤษฎีว่าด้วยอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน (SOVEREIGNTY OF THE PEOPLE) -รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 -สมมติฐานการศึกษา บทที่ ๓ บทบาทของฝ่ายนิติบัญญัติหรือรัฐสภาในการพิจารณาอนุมัติงบประมาณแผ่นดินในกรณีของต่างประเทศ -ประเทศที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภาที่มีประธานาธิบดีเป็นประมุขกรณีประเทศสหรัฐอเมริกา -ประเทศที่ปกครองระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภาที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขกรณีประเทศอังกฤษ บทที่ ๔ บทบาทของฝ่ายนิติบัญญัติหรือรัฐสภาในการพิจารณาอนุมัติงบประมาณแผ่นดินตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 -ความสำคัญและลักษณะของร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดิน --ลักษณะของร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดิน -ขั้นตอนและวิธีการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร --การพิจารณาวาระที่หนึ่ง --การพิจารณาวาระที่สอง --การพิจารณาวาระที่สาม -ขั้นตอนและวิธีการพิจารณาของวุฒิสภา --กำหนดเวลาพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายของวุฒิสภา --ขั้นตอนการแต่งตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญและการพิจารณาของคณะกรรมาธิการวิสามัญ --ขั้นการพิจารณาให้ความเห็นชอบหรือไม่ให้ความเห็นชอบ -บทบาทของสมาชิกรัฐสภา คณะกรรมาธิการ และพรรคการเมือง --บทบาทของสมาชิกรัฐสภาในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี --บทบาทของคณะกรรมาธิการในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี --บทบาทของพรรคการเมือง -กำหนดระยะเวลาในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี บทที่ ๕ ผลการวิเคราะห์บทบาทของฝ่ายนิติบัญญัติหรือรัฐสภาในการพิจารณาอนุมัติงบประมาณแผ่นดิน -บทบาทตามบทบัญญัติของกฎหมาย -บทบาทตามกระบวนวิธีปฏิบัติในการประชุม -ข้อจำกัดและทิศทางการได้มาของตัวกรรมาธิการ -รูปแบบและทิศทางการพิจารณา -การใช้แหล่งข้อมูลและลักษณะของกรรมาธิการ -บทบาทในการอภิปรายซักถาม -บทบาทในการพิจารณาตัดทอนหรือปรับลดงบประมาณ -บทบาทในการพิจารณาจัดสรรงบประมาณเพิ่มเติม -ทัศนคติของกรรมาธิการ -บทบาทในการตั้งข้อสังเกต บทที่ ๖ บทสรุปและข้อเสนอแนะ -บทสรุป -ข้อเสนอแนะ --ประการที่ ๑ กำหนดเวลาการพิจาณณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณแผ่นดิน --ประการที่ ๒ การปรับปรุงกระบวนการพิจารณาอนุมัติงบประมาณแผ่นดินของสภาผู้แทนราษฎร --ประการที่ ๓ บทบาทในการจัดสรรงบประมาณแผ่นดิน --ประการที่ ๔ บทบาทสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและกรรมาธิการในการพิจารณาอนุมัติงบประมาณแผ่นดิน เอกสารอ้างอิง ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ภาคผนวก ค ประวัติผู้ศึกษา ปกหลัง
|